Publication:
ความเห็นพ้องในการประเมินแต่ละหัวข้อของแบบทดสอบพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของทารก (IMDT) ระหว่างนักศึกษากายภาพบำบัดและนักกายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์

dc.contributor.authorสายพิณ ประเสริฐสุขดีen_US
dc.contributor.authorปัทมลักษณ์ ฐานะพันธุ์en_US
dc.contributor.authorธนียา บุญเพลินen_US
dc.contributor.authorวีรณัฐ จีนะวัฒน์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
dc.date.accessioned2013-05-08T07:10:35Z
dc.date.accessioned2018-03-23T07:09:41Z
dc.date.available2013-05-08T07:10:35Z
dc.date.available2018-03-23T07:09:41Z
dc.date.created2556-04-01
dc.date.issued2553-09
dc.description.abstractจุดประสงค์ของการศึกษาเพื่อตรวจสอบความเห็นพ้อง ในการประเมินหัวข้อทดสอบของแบบทดสอบพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของทารก (IMDT) ระหว่างนักศึกษากายภาพบำบัดและนักกายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์ นักศึกษากายภาพบำบัดปีที่ 4 จำนวน 3 คนเข้าร่วมในการศึกษานี้ ภายหลังการอบรมการประเมินหัวข้อทดสอบของแบบทดสอบ IMDT นักศึกษาประเมินหัวข้อทดสอบอย่างอิสระโดยดูวิดีโอพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของทารกจำนวน 32 คน ซึ่งเคยถูกประเมินโดยนักกายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์จำนวน 5 คน ผลการศึกษาพบว่า 9 ใน 25 หัวข้อทดสอบมีค่า percentage of agreement ในการประเมินระหว่างนักศึกษากายภาพบำบัดอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (≥ 80%) และ 11 ใน 19 หัวข้อทดสอบที่สามารถคำนวณด้วยสถิติ Kappa ได้ มีค่า Kappa ระบุถึงความเห็นพ้องอยู่ในระดับพอใช้ถึงดีเลิศ (K ≥ 0.4) นอกจากนี้ 5 ใน 6 หัวข้อ ทดสอบที่ไม่สามารถคำนวณด้วยสถิติ Kappa ได้มีค่า percentage of agreement สูงมาก (88%-100%) เมื่อพิจารณาความเห็นพ้องในการประเมินระหว่างนักศึกษากายภาพบำบัดและนักกายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์พบว่า 12 ใน 25 หัวข้อทดสอบมีค่า percentage of agreement อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ และ 9 ใน 20 หัวข้อทดสอบที่สามารถคำนวณด้วยสถิติ Kappa ได้มีค่า Kappa ระบุถึงความเห็นพ้องอยู่ในระดับพอใช้ถึงดีเลิศ อย่างไรก็ตาม 5 หัวข้อทดสอบที่ไม่สามารถคำนวณด้วยสถิติ Kappa ได้ มีค่า percentage of agreement สูงมาก (91%-100%) โดยสรุปประมาณ 60% ของหัวข้อทดสอบแสดงความเห็นพ้องในการประเมินระหว่างนักศึกษากายภาพบำบัด และนักกายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์เกณฑ์ประเมินที่ชัดเจนและประสบการณ์ด้านเด็กน่าจะมีผลต่อความเชื่อถือได้ของแบบทดสอบ ดังนั้นการประเมินพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวด้วยแบบทดสอบ IMDT อย่างมีประสิทธิภาพควรมีการฝึกที่เหมาะสม นอกจากนี้ ผู้พัฒนาแบบทดสอบควรพิจารณาหัวข้อทดสอบบางหัวข้อที่มีปัญหาในการประเมินทั้งนักศึกษากายภาพบำบัดและ นักกายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์en_US
dc.identifier.citationวารสารกายภาพบำบัด. ปีที่ 32, ฉบับที่ 3 (2553), 133-146en_US
dc.identifier.issn0125-4634
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/10350
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectInfant motor development testen_US
dc.subjectIMDTen_US
dc.subjectnoviceen_US
dc.subjectexperienced physical therapisten_US
dc.subjectagreementen_US
dc.titleความเห็นพ้องในการประเมินแต่ละหัวข้อของแบบทดสอบพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวของทารก (IMDT) ระหว่างนักศึกษากายภาพบำบัดและนักกายภาพบำบัดที่มีประสบการณ์en_US
dc.title.alternativeAgreement in rating items of infant motor development test (IMDT) between physical therapy students and experienced physical therapistsen_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.dateAccepted2553-05-25
dcterms.dateSubmitted2552-11-11
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.thaipt.org/th/images/journal_file/2553/vol3-53.pdf

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections