Publication: Risk factors for underweight children aged 6-24 months in Quang Ngai province, Vietnam
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2013
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
2021-05-17
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
eng
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1905-1387
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Physical Location
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 11, No.1 (๋Jan-Apr 2013), 3-18
Citation
Ho Dae Chien, Jiraporn Chompikui, Santhat Sermsri, เฉียน โฮดัก, จิราพร ชมพิกุล, สันทัด เสริมศรี (2013). Risk factors for underweight children aged 6-24 months in Quang Ngai province, Vietnam. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14594/62185.
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Risk factors for underweight children aged 6-24 months in Quang Ngai province, Vietnam
Alternative Title(s)
ปัจจัยเสี่ยงของภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็ก อายุ 6-24 เดือน ในจังหวัดขวังหงาย ประเทศเวียดนาม
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
A cross-sectional study was conducted to examine significant risk factors associated with underweight
status among children aged 6-24 months in Quang Ngai province, Vietnam. The study factors included
parental socio-demographic factors, maternal knowledge, food provision practices, and maternal and child
health care. Multistage stratified sampling was used to select 250 mothers who had children aged from 6 to
24 months. After the mothers consented to participate in this study, they were interviewed using a structured
questionnaire. Their children were measured for weight and height. The statistics used were the Chi-square
test and multiple logistic regression.
Nearly 31 % of the children were underweight. The Chi-square test indicated the following factors
separately significantly influenced the likelihood of children being underweight: parental education, family
income, child birth weight, maternal knowledge (regarding food provision and child growth monitoring),
frequency of essential food provision, orange juice provision, separation of food for children, amount of food
eaten, the number of prenatal checkups, medical checkups before delivery, dation of day sleep, washing
mother's hands before preparing food, drinking oral rehydration solution, and having latrines. When adjusted
for iodized salts and other factors, children who were fed protein inappropriately. had a 2.18 times greater
risk of being underweight than those who were appropriately fed.
Appropriate feeding programs focusing on protein and iodized salt provision and raising maternal awareness
of maternal and child health care should be implemented, especially for high-risk groups to reduce the
prevalence of underweight children.
การศึกษาแบบตัดขวางนี้เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุของเด็กอายุ 6-24 เดือน ใน จังหวัดขวังหงาย ประเทศเวียดนาม ปัจจัยที่ศึกษาประกอบด้วย ปัจจัยทางสังคมและประชากรของบิดามารดา ความรู้ของมารดา พฤติกรรมการให้อาหารบุตร การดูแลสุขภาพมารดาและเด็กโดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ หลายขั้นตอนได้ตัวอย่างเป็นมารดา 250 คนที่มีบุตรอายุ 6-24 เดือน สัมภาษณ์มารดาและชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง ของบุตรหลังจากมารดายินยอมเข้าร่วมโครงการแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การทดสอบไคกำลังสองและการ ถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าร้อยละ 31 ของเด็กอายุ 6-24 เดือนมีภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุ การทดสอบไคกำลังสอง แสดงถึงปัจจัยเสี่ยงที่มีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ การศึกษาของบิดามารดา รายได้ครอบครัว น้ำหนักแรกเกิดของเด็ก ความรู้ของมารดาเกี่ยวกับการให้อาหารบุตรและการติดตามตรวจสอบการเจริญเติบโตของเด็ก ความถี่ของการ ให้อาหารที่จำเป็น การให้น้ำส้ม การแยกอาหารสำหรับเด็ก ปริมาณอาหารที่รับประทาน จำนวนครั้งของการฝาก ครรภ์ การตรวจร่างกายโดยแพทย์ก่อนคลอด ระยะเวลานอนกลางวันของบุตร การล้างมือของมารดาก่อนเตรียม อาหาร การดื่มสารละลายน้ำเกลือแร่ของบุตร การมีห้องส้วม จากผลการวิเคราะห์การถดถอยลอจิสติกพหุคูณ พบว่าเด็กที่ได้รับอาหารโปรตีนไม่เพียงพอมีความเสี่ยงของการมีภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุ 2.18 เท่าของเด็ก ที่ได้รับอย่างเพียงพอ เมื่อปรับอิทธิพลของเกลือไอโอดีนและปัจจัยอื่นๆ แล้ว โครงการการให้ความรู้ในเรื่องการให้อาหารเด็กอย่างเหมาะสม ควรย้ำในเรื่องการให้อาหารประเภทโปรตีน และอาหารที่มีเกลือแร่ไอโอดีน และควรส่งเสริมให้มีความตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพมารดาและเด็ก โดย เฉพาะในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ทั้งนี้เพื่อลดความชุกของภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุของเด็ก
การศึกษาแบบตัดขวางนี้เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุของเด็กอายุ 6-24 เดือน ใน จังหวัดขวังหงาย ประเทศเวียดนาม ปัจจัยที่ศึกษาประกอบด้วย ปัจจัยทางสังคมและประชากรของบิดามารดา ความรู้ของมารดา พฤติกรรมการให้อาหารบุตร การดูแลสุขภาพมารดาและเด็กโดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ หลายขั้นตอนได้ตัวอย่างเป็นมารดา 250 คนที่มีบุตรอายุ 6-24 เดือน สัมภาษณ์มารดาและชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง ของบุตรหลังจากมารดายินยอมเข้าร่วมโครงการแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การทดสอบไคกำลังสองและการ ถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าร้อยละ 31 ของเด็กอายุ 6-24 เดือนมีภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุ การทดสอบไคกำลังสอง แสดงถึงปัจจัยเสี่ยงที่มีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ การศึกษาของบิดามารดา รายได้ครอบครัว น้ำหนักแรกเกิดของเด็ก ความรู้ของมารดาเกี่ยวกับการให้อาหารบุตรและการติดตามตรวจสอบการเจริญเติบโตของเด็ก ความถี่ของการ ให้อาหารที่จำเป็น การให้น้ำส้ม การแยกอาหารสำหรับเด็ก ปริมาณอาหารที่รับประทาน จำนวนครั้งของการฝาก ครรภ์ การตรวจร่างกายโดยแพทย์ก่อนคลอด ระยะเวลานอนกลางวันของบุตร การล้างมือของมารดาก่อนเตรียม อาหาร การดื่มสารละลายน้ำเกลือแร่ของบุตร การมีห้องส้วม จากผลการวิเคราะห์การถดถอยลอจิสติกพหุคูณ พบว่าเด็กที่ได้รับอาหารโปรตีนไม่เพียงพอมีความเสี่ยงของการมีภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุ 2.18 เท่าของเด็ก ที่ได้รับอย่างเพียงพอ เมื่อปรับอิทธิพลของเกลือไอโอดีนและปัจจัยอื่นๆ แล้ว โครงการการให้ความรู้ในเรื่องการให้อาหารเด็กอย่างเหมาะสม ควรย้ำในเรื่องการให้อาหารประเภทโปรตีน และอาหารที่มีเกลือแร่ไอโอดีน และควรส่งเสริมให้มีความตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพมารดาและเด็ก โดย เฉพาะในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ทั้งนี้เพื่อลดความชุกของภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุของเด็ก