Publication:
Disability Law and Policy in Thailand: An Ideal and Reality in the Past Decade

dc.contributor.authorTavee Cheausuwantaveeen_US
dc.contributor.authorKajonpun Suwansomriden_US
dc.contributor.authorทวี เชื้อสุวรรณทวีen_US
dc.contributor.authorขจรพรรณ สุวรรณสำริดen_US
dc.contributor.otherMahidol University. Ratchasuda Collegeen_US
dc.date.accessioned2020-04-13T04:33:20Z
dc.date.available2020-04-13T04:33:20Z
dc.date.created2020-04-13
dc.date.issued2018
dc.description.abstractThis documentary research aims to compare the real situations of quality of life (QoL) over the past decade (1999-2010) and the essences of laws and policies passed regarding persons with disabilities (PWDs) in Thailand for addressing how they have been complied with each other. The 435 research projects reflecting the real situations of QoL and 74 laws/policies regarding PWDs met criteria were purposely selected. Content analysis as typology and analytic induction was administered on those data. The research results reveal that although there are some real positive situations of QoL of PWDs and the majority of legal essences have been harmonious each other, uphold CRPD and promoted human dignity and equal rights of PWDs without discrimination. However, there are many real negative situations of QoL of PWDs especially poor health condition, low education, unemployment and no more social participation due to lack of accessible services, ineffective coordination, inadequate budgets, unskillful service providers as well as negative attitudes of society toward PWDs have been taken place within those law enforcement over the past decade. Furthermore, there are also legal discrepant essences of some laws that may need to be strongly concerned and reformed. These major findings were also shared to public and stakeholders including PWDs, families, services providers, policy makers, community leaders and members in order to encourage their understanding, critiques and consciousness raising and seek for solving these challenges through mutual participation of those stakeholders. In sum, the real situations of QoL of PWDs over the past decade and the essences of the laws/policies passed in Thailand have been not complied with each other or they imply ineffective law enforcement. These findings suggest what and how lawyers, policy makers and other stakeholders should be done in the next steps for effective laws and their enforcement.en_US
dc.description.abstractการวิจัยเอกสารนี้ มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระหว่างสถานการณ์จริงเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตคนพิการ กับสาระสำคัญของกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับสิทธิของคนพิการของไทย ในทศวรรษที่ผ่านมา (พ.ศ. 2542-2553) ว่ามีความสอดคล้องกันมากน้อยเพียงใด หน่วยการวิเคราะห์คือ งานวิจัยในช่วงทศวรรษดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ ชีวิตคนพิการจำนวน 435 เรื่อง และกฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวคนพิการจำนวน 74 ฉบับ เลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลจากงานวิจัยและสาระสำคัญทางกฎหมาย วิเคราะห์เชิงเนื้อหา ด้วยวิธีเปรียบเทียบและหา ข้อสรุปเชิงอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า มีสถานการณ์ทางบวกเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตคนพิการและสาระสำคัญของกฎหมายส่วนใหญ่ สอดคล้องกัน มีทิศทางเดียวกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ ที่ส่งเสริมศักดิ์ศรี ความเท่าเทียมด้านสิทธิของคนพิการ ปราศจากการเลือกปฏิบัติในช่วงทศวรรษดังกล่าว อย่างไรก็ตามมีสถานการณ์ทางลบเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตคนพิการ โดยเฉพาะปัญหาด้านสุขภาพ การศึกษาต่ำการไม่มีอาชีพ การมีส่วนร่วมในสังคมน้อย การเข้าไม่ถึงบริการ ขาดการ ประสานงานและงบประมาณ ผู้ให้บริการขาดความรู้ความเข้าใจรวมทั้งการมีเจคติทางลบต่อคนพิการ ในระหว่างการ บังคับใช้กฎหมายเหล่านั้น ตลอดทศวรรษดังกล่าวเช่นกัน นอกจากนี้ มีสาระสำคัญของกฎหมายบางฉบับไม่สอดคล้อง กัน สมควรได้รับการพิจารณาและแก้ไข ข้อค้นพบเหล่านี้ เห็นควรได้มีการเผยแพร่ให้สาธารณะ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งคนพิการ ครอบครัวคนพิการ ผู้ให้บริการ ผู้กำหนดนโยบาย ผู้นำและสมาชิกในชุมชนได้ทราบ เพื่อกระตุ้นให้เกิด ความเข้าใจ วิพากษ์ ปลุกจิตสำนึก และหาทางแก้ไขปัญหา ข้อท้าทายต่างๆ เหล่านี้ ผ่านการมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังกล่าว กล่าวโดยสรุปแล้วสถานการณ์คุณภาพชีวิตของคนพิการในทศวรรษที่ผ่านมา มิได้สอดคล้องหรือเป็นไปตามสาระ สิทธิตามที่กฎหมายกำหนด และสะท้อนถึงการบังคับใช้กฎหมายที่ยังไม่มี ประสิทธิภาพ ข้อค้นพบนี้น่าจะเป็นประเด็นที่จะทำให้นักกฎมาย ผู้กำหนดนโยบาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้พิจารณา หาวิธีการที่จะช่วยให้การบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นen_US
dc.identifier.citationJournal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities. Vol. 14, (Jan- Dec 2017), 87-103en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54073
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderRatchasuda College Mahidol Universityen_US
dc.subjectDisabilityen_US
dc.subjectSocial Policyen_US
dc.subjectLawen_US
dc.subjectRightsen_US
dc.subjectThailanden_US
dc.subjectDocumentary Researchen_US
dc.subjectความพิการen_US
dc.subjectนโยบายสังคมen_US
dc.subjectกฎหมายen_US
dc.subjectสิทธิen_US
dc.subjectประเทศไทยen_US
dc.subjectการวิจัยเอกสารen_US
dc.subjectวารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการen_US
dc.subjectJournal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilitiesen_US
dc.titleDisability Law and Policy in Thailand: An Ideal and Reality in the Past Decadeen_US
dc.title.alternativeกฎหมายและนโยบายด้านความพิการในประเทศไทย: อุดมคติกับความเป็นจริง ในทศวรรษที่ผ่านมาen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://rs.mahidol.ac.th/rs-journal/vol.14/007.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
rs-ar-tawee-2018.pdf
Size:
180.47 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections