Publication: โปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรี
Issued Date
2555
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 121 (พ.ค.- ส.ค. 2555), 45-60
Suggested Citation
สุวิชา ชุ่มชื่น, นิรัตน์ อิมามี, มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์, Suwicha Chumchuen, Nirat imamee, Manirat Therawiwat โปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรี. วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 121 (พ.ค.- ส.ค. 2555), 45-60. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61920
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
โปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรี
Alternative Title(s)
Self-Efficacy Enhancement Program for Improving Health Behaviors of Hypertensive Risk group, Singburi Province
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถ
ตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรี กลุ่มตัวอย่าง
คือ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 40 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 40
คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อ
ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับกิจกรรมจากบริการตามปกติจากสถานบริการ
สุขภาพ รวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ
ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired Sample’s t-test
ผลการวิจัยพบว่าหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง การรับรู้โอกาส
เสี่ยงและความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง การรับรู้ความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ความคาดหวังในผลดีของการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และ
มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่ม
เปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ข้อเสนอแนะ การจัดโปรแกรมส่งเสริมความสามารถ
ตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ควรเน้นที่การส่งเสริมการ
รับรู้ความสามารถตนเองและการจัดการตนเองให้กับกลุ่มเสี่ยงเพื่อสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
This study was a quasi-experimental research that aimed to investigate an effectiveness of a self-efficacy enhancement program for improving health behaviors of hypertensive risk group, Singburi Province. The samples were 80 cases in a hypertensive risk group, with 40 cases each in the experimental and the comparison groups. The experimental group participated in the self-efficacy enhancement program while the comparison group received a regular program from public health personnel. Data collection was done by interview. Data were analyzed by using frequency, percentage, arithmetic mean, and Paired Sample ’s t-test. The research results showed that after the experiment, significantly higher levels of the following variables were found among the experimental group than the comparison group (pvalue< 0.05) knowledge about hypertension, perceived susceptibility and severity of hypertension, perceived self- efficacy to change hypertensive prevention behaviors, and hypertensive prevention behaviors. The results of the study suggest that the Self-efficacy enhancement program for improving health behaviors of hypertensive risk group should be emphasized on perceived self-efficacy and self-management behaviors.
This study was a quasi-experimental research that aimed to investigate an effectiveness of a self-efficacy enhancement program for improving health behaviors of hypertensive risk group, Singburi Province. The samples were 80 cases in a hypertensive risk group, with 40 cases each in the experimental and the comparison groups. The experimental group participated in the self-efficacy enhancement program while the comparison group received a regular program from public health personnel. Data collection was done by interview. Data were analyzed by using frequency, percentage, arithmetic mean, and Paired Sample ’s t-test. The research results showed that after the experiment, significantly higher levels of the following variables were found among the experimental group than the comparison group (pvalue< 0.05) knowledge about hypertension, perceived susceptibility and severity of hypertension, perceived self- efficacy to change hypertensive prevention behaviors, and hypertensive prevention behaviors. The results of the study suggest that the Self-efficacy enhancement program for improving health behaviors of hypertensive risk group should be emphasized on perceived self-efficacy and self-management behaviors.