Publication:
โปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรี

dc.contributor.authorสุวิชา ชุ่มชื่นen_US
dc.contributor.authorนิรัตน์ อิมามีen_US
dc.contributor.authorมณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorSuwicha Chumchuenen_US
dc.contributor.authorNirat imameeen_US
dc.contributor.authorManirat Therawiwaten_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2021-03-27T12:28:21Z
dc.date.available2021-03-27T12:28:21Z
dc.date.created2564-03-27
dc.date.issued2555
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถ ตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 40 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 40 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อ ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับกิจกรรมจากบริการตามปกติจากสถานบริการ สุขภาพ รวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired Sample’s t-test ผลการวิจัยพบว่าหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง การรับรู้โอกาส เสี่ยงและความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง การรับรู้ความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ความคาดหวังในผลดีของการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ข้อเสนอแนะ การจัดโปรแกรมส่งเสริมความสามารถ ตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ควรเน้นที่การส่งเสริมการ รับรู้ความสามารถตนเองและการจัดการตนเองให้กับกลุ่มเสี่ยงเพื่อสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมen_US
dc.description.abstractThis study was a quasi-experimental research that aimed to investigate an effectiveness of a self-efficacy enhancement program for improving health behaviors of hypertensive risk group, Singburi Province. The samples were 80 cases in a hypertensive risk group, with 40 cases each in the experimental and the comparison groups. The experimental group participated in the self-efficacy enhancement program while the comparison group received a regular program from public health personnel. Data collection was done by interview. Data were analyzed by using frequency, percentage, arithmetic mean, and Paired Sample ’s t-test. The research results showed that after the experiment, significantly higher levels of the following variables were found among the experimental group than the comparison group (pvalue< 0.05) knowledge about hypertension, perceived susceptibility and severity of hypertension, perceived self- efficacy to change hypertensive prevention behaviors, and hypertensive prevention behaviors. The results of the study suggest that the Self-efficacy enhancement program for improving health behaviors of hypertensive risk group should be emphasized on perceived self-efficacy and self-management behaviors.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 121 (พ.ค.- ส.ค. 2555), 45-60en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61920
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการรับรู้ความสามารถตนเองen_US
dc.subjectกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงen_US
dc.subjectพฤติกรรมการจัดการตนเองen_US
dc.subjectPerceived self-efficacyen_US
dc.subjectHypertensive risk groupen_US
dc.subjectSelf-management behaviorsen_US
dc.titleโปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสิงห์บุรีen_US
dc.title.alternativeSelf-Efficacy Enhancement Program for Improving Health Behaviors of Hypertensive Risk group, Singburi Provinceen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/173997

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-manirat-2555-1.pdf
Size:
2.52 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections