Publication: กลวิธีการสอนดนตรีในชั้นเรียนรวมระดับประถมศึกษา: มุมมองจากประสบการณ์ของครูสอนดนตรี
Issued Date
2564
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 17, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 18-33
Suggested Citation
อัมทิภา ศิลปพิบูลย์, นัทธี เชียงชะนา, นิอร เตรัตนชัย, Amtipa Sinlapaphiboon, Natee Chiengchana, Ni-on Tayrattanachai กลวิธีการสอนดนตรีในชั้นเรียนรวมระดับประถมศึกษา: มุมมองจากประสบการณ์ของครูสอนดนตรี. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 17, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 18-33. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64477
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
กลวิธีการสอนดนตรีในชั้นเรียนรวมระดับประถมศึกษา: มุมมองจากประสบการณ์ของครูสอนดนตรี
Alternative Title(s)
Music Teaching Strategies in Inclusive Elementary Classroom: Perspective of Music Teachers’ Experiences
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งศึกษากลวิธีการสอนดนตรีในชั้นเรียนรวม ระดับประถมศึกษา โดย
ศึกษาผ่านมุมมองจากประสบการณ์ของครูสอนดนตรี จำนวนทั้งหมด 6 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบ
กึ่งโครงสร้าง การสังเกตการเรียนการสอนแบบไม่มีส่วนร่วมในชั้นเรียน และการศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับกลวิธี
การสอนดนตรีในชั้นเรียนรวมระดับประถมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการอุปนัย พร้อมทั้งนำเสนอผลการวิจัย
ในรูปแบบการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า ครูสอนดนตรีนำเสนอมุมมองเกี่ยวกับกลวิธีการสอนดนตรีในชั้นเรียนรวม ระดับ
ประถมศึกษาไว้ 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การสร้างความเข้าใจและตระหนักรู้ในความต้องการของนักเรียนเป็นรายบุคคล
และการขอคำปรึกษาจากครูการศึกษาพิเศษเพื่อร่วมกันการวางแผนการสอน 2) การออกแบบการสอนที่สอดคล้องกับ
ศักยภาพของนักเรียน 3) การนำเทคนิคที่สำคัญมาใช้ในการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่ การใช้คำสั่งที่
ชัดเจนและเข้าใจง่าย การกระตุ้นการตอบสนองของนักเรียนตลอดเวลา การสนับสนุนให้เพื่อนช่วยเหลือเพื่อน และการเลือก
กิจกรรมที่สนุกสนาน และ 4) การปรับเปลี่ยนการสอนให้เหมาะสมกับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
The purpose of this qualitative study was to study music teaching strategies for inclusive elementary classroom from perspective of six music teachers’ experience. The data were collected by semi-structured interviews, non-participant observation in an inclusive music classroom and reviewing document related to music teaching strategies for inclusive elementary classroom. Qualitative data were analyzed using inductive data analysis. The results were presented in the form of narrative data. The results showed that music teachers presented four perspectives related to music teaching strategies in an inclusive classroom which were 1) understanding and realization of individual needs of the students and consulting with special education teachers to collaboratively design the lesson; 2) designing the instruction to meet student’s potential; 3) using various techniques to effectively support the instruction including clear and easy instructions, frequently motivating students response throughout the lesson, using peer-assisted learning and enjoyable activities; and 4) adapting the instruction to suit to students’ needs
The purpose of this qualitative study was to study music teaching strategies for inclusive elementary classroom from perspective of six music teachers’ experience. The data were collected by semi-structured interviews, non-participant observation in an inclusive music classroom and reviewing document related to music teaching strategies for inclusive elementary classroom. Qualitative data were analyzed using inductive data analysis. The results were presented in the form of narrative data. The results showed that music teachers presented four perspectives related to music teaching strategies in an inclusive classroom which were 1) understanding and realization of individual needs of the students and consulting with special education teachers to collaboratively design the lesson; 2) designing the instruction to meet student’s potential; 3) using various techniques to effectively support the instruction including clear and easy instructions, frequently motivating students response throughout the lesson, using peer-assisted learning and enjoyable activities; and 4) adapting the instruction to suit to students’ needs