Publication: ผลการเรียนรู้การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานในวิชาปฏิบัติเสริมทักษะการพยาบาลต่อความพร้อมในการประกอบวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล
Issued Date
2556
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2556), 79-89
Suggested Citation
วิไลวรรณ ทองเจริญ, Vilaivan Thongcharoen, ช่อทิพย์ สันธนะวนิช, Chorthip Santanavanich, สกุลรัตน์ เตียววานิช, Sakunrat Tiewwanich, พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร, Patsamon Khumtaveeporn, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, Wilaipun Somboontanont, ศุภาวดี วายุเหือด, Supawadi Wayuhuerd, กาญจนา ครองธรรมชาติ, Kanjana Krongthammachart, พิจิตรา เล็กดํารงกุล, Pichitra Lekdamrongkul, กลิ่นชบา สุวรรณรงค์, Klinchaba Suvarnarong ผลการเรียนรู้การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานในวิชาปฏิบัติเสริมทักษะการพยาบาลต่อความพร้อมในการประกอบวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 4 (ต.ค. - ธ.ค. 2556), 79-89. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/17207
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลการเรียนรู้การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานในวิชาปฏิบัติเสริมทักษะการพยาบาลต่อความพร้อมในการประกอบวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล
Alternative Title(s)
Learning Outcomes of Work Integrated Learning in the Course of Practicum for Nursing Skills to Professional Readiness of Nursing Students
Author(s)
วิไลวรรณ ทองเจริญ
Vilaivan Thongcharoen
ช่อทิพย์ สันธนะวนิช
Chorthip Santanavanich
สกุลรัตน์ เตียววานิช
Sakunrat Tiewwanich
พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร
Patsamon Khumtaveeporn
วิไลพรรณ สมบุญตนนท์
Wilaipun Somboontanont
ศุภาวดี วายุเหือด
Supawadi Wayuhuerd
กาญจนา ครองธรรมชาติ
Kanjana Krongthammachart
พิจิตรา เล็กดํารงกุล
Pichitra Lekdamrongkul
กลิ่นชบา สุวรรณรงค์
Klinchaba Suvarnarong
Vilaivan Thongcharoen
ช่อทิพย์ สันธนะวนิช
Chorthip Santanavanich
สกุลรัตน์ เตียววานิช
Sakunrat Tiewwanich
พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร
Patsamon Khumtaveeporn
วิไลพรรณ สมบุญตนนท์
Wilaipun Somboontanont
ศุภาวดี วายุเหือด
Supawadi Wayuhuerd
กาญจนา ครองธรรมชาติ
Kanjana Krongthammachart
พิจิตรา เล็กดํารงกุล
Pichitra Lekdamrongkul
กลิ่นชบา สุวรรณรงค์
Klinchaba Suvarnarong
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์:ศึกษาระดับและเปรียบเทียบความพร้อมในการประกอบวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาก่อนและหลังได้รับการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางาน รูปแบบการวิจัย:ศึกษากลุ่มเดียววัดก่อน-หลังการทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 จํานวน 287 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบประเมินทักษะการปฏิบัติการพยาบาล แบบวัดเจตคติต่อการประกอบวิชาชีพพยาบาล แบบวัดวุฒิภาวะทางอารมณ์ และแบบบันทึกการสะท้อนผลการปฏิบัติงาน ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทํางาน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทีที่เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ผลการวิจัย:ก่อนการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางาน นักศึกษามีความพร้อมต่อการประกอบวิชาชีพพยาบาลในด้านประสบการณ์และทักษะการปฏิบัติการพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง และเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับมากหลังการจัดการศึกษาอย่างมีนัยสําคัญ (p < .001) ส่วนความพร้อมในด้านเจตคติต่อการประกอบวิชาชีพพยาบาลและวุฒิภาวะทางอารมณ์ของนักศึกษาก่อนการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานอยู่ในระดับมากและเพิ่มขึ้นหลังการจัดการศึกษาในระดับมากเช่นเดียวกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) สรุปและข้อเสนอแนะ:การเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทํางานสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงและสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ การจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพต้องมีความร่วมมือที่ดีระหว่างสถาบันการศึกษา ผู้ใช้บัณฑิตและนักศึกษา รวมทั้งมีระยะเวลาที่พอเพียงในการฝึกปฏิบัติ การศึกษาวิจัยต่อไปควรศึกษารูปแบบความร่วมมือในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะเชิงวิชาชีพ
Purpose: To explore and compare the readiness toward nursing profession of nursing studentsbefore and after receiving Work Integrated Learning.Design: Pretest-posttest one group design.Methods: Subjects were 287 fourth-year nursing students. Data were collected by using nursingskills assessment form, attitude toward nursing profession assessment scale, emotional maturityassessment scale, and reflective record form before and after Work Integrated Learning. Descriptivestatistics and dependent t-test were used for data analysis.Main findings: Before Work Integrated Learning, students had a moderate level of readiness fornursing profession in experiences and practice skills. It significantly increased to a high level after WorkIntegrated Learning (p < .001). In addition, before Work Integrated Learning, they had a high level in readiness of emotional maturity and attitude for nursing profession. It also significantly increased to a high level after Work Integrated Learning (p < .01).Conclusion and recommendations: Work Integrated Learning can be applied to nursing practiceand creates good attitude toward nursing profession. The effective arrangement on education must havegood collaboration among educational institutes, stakeholders, and students, including an adequatetimeframe for practicum course. Further research should study the cooperative model of clinicalpractice teaching to improve nursing skills.
Purpose: To explore and compare the readiness toward nursing profession of nursing studentsbefore and after receiving Work Integrated Learning.Design: Pretest-posttest one group design.Methods: Subjects were 287 fourth-year nursing students. Data were collected by using nursingskills assessment form, attitude toward nursing profession assessment scale, emotional maturityassessment scale, and reflective record form before and after Work Integrated Learning. Descriptivestatistics and dependent t-test were used for data analysis.Main findings: Before Work Integrated Learning, students had a moderate level of readiness fornursing profession in experiences and practice skills. It significantly increased to a high level after WorkIntegrated Learning (p < .001). In addition, before Work Integrated Learning, they had a high level in readiness of emotional maturity and attitude for nursing profession. It also significantly increased to a high level after Work Integrated Learning (p < .01).Conclusion and recommendations: Work Integrated Learning can be applied to nursing practiceand creates good attitude toward nursing profession. The effective arrangement on education must havegood collaboration among educational institutes, stakeholders, and students, including an adequatetimeframe for practicum course. Further research should study the cooperative model of clinicalpractice teaching to improve nursing skills.