Publication:
ผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการต่อการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในหญิงวัยก่อนหมดประจำเดือน

dc.contributor.authorนฤมล เวชจักรเวรen_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ เสถียรนพเก้าen_US
dc.contributor.authorภารดี เต็มเจริญen_US
dc.contributor.authorวงเดือน ปั้นดีen_US
dc.contributor.authorWarapone Satheannoppakaoen_US
dc.contributor.authorParadee Temcharoenen_US
dc.contributor.authorWongdyan Pandiien_US
dc.contributor.correspondenceวราภรณ์ เสถียรนพเก้าen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยาen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-06-12T06:10:42Z
dc.date.accessioned2017-06-30T08:40:36Z
dc.date.available2015-06-12T06:10:42Z
dc.date.available2017-06-30T08:40:36Z
dc.date.created2558-06-12
dc.date.issued2555
dc.description.abstractการบริโภคอาหารและการมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม สามารถป้องกันความเสี่ยงทางสรีรวิทยาต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในหญิงวัยหมดประจำเดือน การวิจัยกึ่งทดลองนี้ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการต่อการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในหญิงวัยหมดประจำเดือน อายุ 30-45 ปี จำนวน 70 คน สุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 33 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 37 คน ระยะเวลาศึกษา 12 สัปดาห์ ประกอบด้วยระยะทดลอง 8 สัปดาห์และติดตามผล 4 สัปดาห์หลังการทดลอง เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองและระยะติดตามผลโดยใช้แบบสอบถามแบบตอบด้วยตนเอง แบบบันทึกอาหารบริโภค 3 วัน แบบบันทึกกิจกรรมทางกาย และแบบบันทึกสัดส่วนร่างกาย สถิติวิเคราะห์โดย Two Way Repeated Measures ANOVA ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุ่มทดลองบริโภคผัก ผลไม้ ใยอาหาร โปรตีนถั่วเหลืองและไอโซฟลาวอน และออกกำลังกายเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลองและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (p<0.05) และกลุ่มทดลองบริโภคไขมันคอเลสเตอรอล และน้ำตาลลดลงกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (p<0.05) ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายและเส้นรอบวงเอวของกลุ่มทดลองหลังการทดลองและระยะติดตามผลลดลง (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง สรุป การปรับเปลี่ยนบริโภคนิสัยและเพิ่มการออกกำลังกายช่วยหญิงวัยหมดประจำเดือนให้มีขนาดร่างกายเหมาะสมเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่การป้องกันความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด Appropriate food consumption and physical activity can prevent the physiological risk of cardiovascular disease (CVD) in post- menopausal women. The purpose of this quasi-experimental study was to investigate the effect of nutrition promotion program on changes in food consumption and physical activity for CVD risk prevention in 70 pre-menopausal women aged 30-45 years. Participants were randomly assigned to an experiment group (n = 33) or a comparison group (n = 37). A 12-week study period included an 8-week experiment and a 4-week follow-up period. Data were collected by using self-administered questionnaires, 3-day food record form, physical activity record form, and anthropometric record form at the baseline, at the end of experiment and follow up. Statistical analysis was conducted by using two way repeated measures ANOVA. Results illustrated that after the experiment and follow up, the experiment group consumed vegetable, fruit, fi ber, soy protein and isofl avone and exercised more than those at the baseline and of the comparison group (p < 0.05). Additionally, the experiment group ate fat, cholesterol, and sugar lower than those at the baseline and of the comparison group (p < 0.05). The experiment group’s body mass index and waist circumference after experi- ment and at follow-up were lower (p < 0.05), compared with those at the baseline. In conclusion, the eating behavior modifi cation and increase in exercise help pre-menopausal women achieve more suitable body compo- sition probably leading to CVD risk prevention.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 42, ฉบับที่ 2 (2555), 4-16en_US
dc.identifier.issn0125-1678
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2502
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectอาหารen_US
dc.subjectกิจกรรมทางกายen_US
dc.subjectความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดen_US
dc.subjectหญิงวัยก่อนหมดประจำเดือนen_US
dc.subjectFooden_US
dc.subjectPhysical Activityen_US
dc.subjectCardiovascular Disease Risken_US
dc.subjectPre-Menopausal Womenen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Public Healthen_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการต่อการปรับเปลี่ยนการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในหญิงวัยก่อนหมดประจำเดือนen_US
dc.title.alternativeEffect of nutrition promotion program on changes in food consumption and physical activity for cardiovascular disease risk prevention in pre-menopausal womenen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.ph.mahidol.ac.th/journal/42_2/01.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-warapone-2555.pdf
Size:
292.59 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections