Publication: การเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติของบุคลากรทีมสุขภาพตามแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสระหว่างกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูงในการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน
Issued Date
2565
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
ISSN
2672-9784 (Online)
0858-9739 (Print)
0858-9739 (Print)
Journal Title
รามาธิบดีพยาบาลสาร
Volume
28
Issue
3
Start Page
385
End Page
399
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุกรรม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุกรรม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 28, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2565), 385-399
Suggested Citation
มุขพล ปุนภพ, พรทิพย์ มาลาธรรม, กําธร มาลาธรรม, Mukkapon Punpop, Porntip Malathum, Kumthorn Malathum การเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติของบุคลากรทีมสุขภาพตามแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสระหว่างกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูงในการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 28, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2565), 385-399. 399. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98934
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติของบุคลากรทีมสุขภาพตามแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสระหว่างกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูงในการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน
Alternative Title(s)
A Comparison of Adherence Rates to Guidelines for Contact Precautions between Healthcare Workers Performing Low-Risk and High-Risk Activities for Body Fluid Exposure to Patients with Multidrug-Resistant Organisms
Abstract
การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติของบุคลากรโรงพยาบาลตามแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสระหว่างกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูงในการสัมผั สสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน แนวทาง
การแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสครอบคลุุมด้านการทำความสะอาดมือ การใช้กาวน์ การใช้ถุุงมือคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวกโดยผู้เข้าร่วมวิจัยคือ บุคลากรแพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ที่่ปฏิบัติงาน และนักศึกษาที่ฝึกปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุุรกรรมของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมจำนวน 560 ครั้งของการดูแลผู้ป่วยที่ได้จากการการสุ่ม แบ่งเป็นกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสููงและความเสี่ยงต่ำต่อการสัมผัสสารคัดหลั่ง 330 ครั้งและ 230 ครั้งตามลำดับ การแบ่งกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำหรือสููง พิจารณาจากการที่บุคลากรสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาฯ มากน้อยเพียงใด วิเคราะห์ข้อมููลโดยใช้สถิติบรรยาย และการทดสอบไคสแควร์ พบว่า บุคลากรทีมสุขภาพ มีอัตราการปฏิบัติตาม
แนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสในด้านการทำความสะอาดมือ การใช้กาวน์ และการใช้ถุงมือในกิิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งน้อยกว่ากิจกรรมที่่มีความเสี่ยงสููงในผู้ป่วยที่่มีเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะหลายขนานอย่างมีนััยสำคัญทางสถิติทั้งในระยะก่อนและหลังการดูแลผู้ป่วย ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรให้ความสนใจในการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อยาปฏิชีวนะในกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งด้วยเพื่อป้องกันการละเลยช่องว่างนี้ และจะทำให้การควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายขนานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
This descriptive study aimed to compare the adherence rates to guidelines for contact precautions between healthcare workers performing low-risk and high-risk activities for body fluid exposure to patients with multidrug-resistant organisms (MDROs). The guidelines for contact precautions included hand hygiene, gowning, and gloving. Convenience sampling was used to recruit a sample of healthcare workers who performed tasks in a medical semiintensive care unit. Non-participatory action observation with random sampling was conducted a total of 560 times consisting of 330 times of high-risk activities and 220 times of low-risk activities. The high-risk or low-risk activities were classified based on how much healthcare workers have been exposed to body fluid of patients with MDROs. Data were analyzed with descriptive statistics and the chi-square test. The results revealed that healthcare workers’adherence rates to guidelines for contact precautions (washing hands, gowning, and gloving) in low-risk activities for body fluid exposure were significantly lower than in high-risk activities among patients with MDROs both before and after providing care. Thus, the relevant authorities should also pay attention to controlling the spread of MDROs in low-risk activities for body fluid exposure to prevent this gap and make it more effective to control the spread of MDROs.
This descriptive study aimed to compare the adherence rates to guidelines for contact precautions between healthcare workers performing low-risk and high-risk activities for body fluid exposure to patients with multidrug-resistant organisms (MDROs). The guidelines for contact precautions included hand hygiene, gowning, and gloving. Convenience sampling was used to recruit a sample of healthcare workers who performed tasks in a medical semiintensive care unit. Non-participatory action observation with random sampling was conducted a total of 560 times consisting of 330 times of high-risk activities and 220 times of low-risk activities. The high-risk or low-risk activities were classified based on how much healthcare workers have been exposed to body fluid of patients with MDROs. Data were analyzed with descriptive statistics and the chi-square test. The results revealed that healthcare workers’adherence rates to guidelines for contact precautions (washing hands, gowning, and gloving) in low-risk activities for body fluid exposure were significantly lower than in high-risk activities among patients with MDROs both before and after providing care. Thus, the relevant authorities should also pay attention to controlling the spread of MDROs in low-risk activities for body fluid exposure to prevent this gap and make it more effective to control the spread of MDROs.