Publication:
การเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติของบุคลากรทีมสุขภาพตามแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสระหว่างกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูงในการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน

dc.contributor.authorมุขพล ปุนภพ
dc.contributor.authorพรทิพย์ มาลาธรรม
dc.contributor.authorกําธร มาลาธรรม
dc.contributor.authorMukkapon Punpop
dc.contributor.authorPorntip Malathum
dc.contributor.authorKumthorn Malathum
dc.date.accessioned2024-06-24T04:38:46Z
dc.date.available2024-06-24T04:38:46Z
dc.date.created2567-06-24
dc.date.issued2565
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติของบุคลากรโรงพยาบาลตามแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสระหว่างกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูงในการสัมผั สสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน แนวทาง การแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสครอบคลุุมด้านการทำความสะอาดมือ การใช้กาวน์ การใช้ถุุงมือคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวกโดยผู้เข้าร่วมวิจัยคือ บุคลากรแพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ที่่ปฏิบัติงาน และนักศึกษาที่ฝึกปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุุรกรรมของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมจำนวน 560 ครั้งของการดูแลผู้ป่วยที่ได้จากการการสุ่ม แบ่งเป็นกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสููงและความเสี่ยงต่ำต่อการสัมผัสสารคัดหลั่ง 330 ครั้งและ 230 ครั้งตามลำดับ การแบ่งกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำหรือสููง พิจารณาจากการที่บุคลากรสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาฯ มากน้อยเพียงใด วิเคราะห์ข้อมููลโดยใช้สถิติบรรยาย และการทดสอบไคสแควร์ พบว่า บุคลากรทีมสุขภาพ มีอัตราการปฏิบัติตาม แนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสในด้านการทำความสะอาดมือ การใช้กาวน์ และการใช้ถุงมือในกิิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งน้อยกว่ากิจกรรมที่่มีความเสี่ยงสููงในผู้ป่วยที่่มีเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะหลายขนานอย่างมีนััยสำคัญทางสถิติทั้งในระยะก่อนและหลังการดูแลผู้ป่วย ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรให้ความสนใจในการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อยาปฏิชีวนะในกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสัมผัสสารคัดหลั่งด้วยเพื่อป้องกันการละเลยช่องว่างนี้ และจะทำให้การควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาหลายขนานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
dc.description.abstractThis descriptive study aimed to compare the adherence rates to guidelines for contact precautions between healthcare workers performing low-risk and high-risk activities for body fluid exposure to patients with multidrug-resistant organisms (MDROs). The guidelines for contact precautions included hand hygiene, gowning, and gloving. Convenience sampling was used to recruit a sample of healthcare workers who performed tasks in a medical semiintensive care unit. Non-participatory action observation with random sampling was conducted a total of 560 times consisting of 330 times of high-risk activities and 220 times of low-risk activities. The high-risk or low-risk activities were classified based on how much healthcare workers have been exposed to body fluid of patients with MDROs. Data were analyzed with descriptive statistics and the chi-square test. The results revealed that healthcare workers’adherence rates to guidelines for contact precautions (washing hands, gowning, and gloving) in low-risk activities for body fluid exposure were significantly lower than in high-risk activities among patients with MDROs both before and after providing care. Thus, the relevant authorities should also pay attention to controlling the spread of MDROs in low-risk activities for body fluid exposure to prevent this gap and make it more effective to control the spread of MDROs.
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 28, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2565), 385-399
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98934
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rights.holderหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุกรรม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rights.holderภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectอัตราการปฏิบัติ
dc.subjectแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัส
dc.subjectเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน
dc.subjectการสัมผัสสารคัดหลั่ง
dc.subjectAdherence rate
dc.subjectGuidelines for contact precautions
dc.subjectMulti-drug resistant organisms
dc.subjectBody fluid exposure
dc.titleการเปรียบเทียบอัตราการปฏิบัติของบุคลากรทีมสุขภาพตามแนวทางการแยกผู้ป่วยแบบสัมผัสระหว่างกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูงในการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาน
dc.title.alternativeA Comparison of Adherence Rates to Guidelines for Contact Precautions between Healthcare Workers Performing Low-Risk and High-Risk Activities for Body Fluid Exposure to Patients with Multidrug-Resistant Organisms
dc.typeResearch Article
dcterms.accessRightsopen access
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/253612/177683
oaire.citation.endPage399
oaire.citation.issue3
oaire.citation.startPage385
oaire.citation.titleรามาธิบดีพยาบาลสาร
oaire.citation.volume28
oaire.versionAccepted Manuscript
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุกรรม
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
ra-ar-mukkapon-2565.pdf
Size:
447.45 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections