Publication: Disease-free Probability and Triple-Negative Breast Cancer
Issued Date
2012
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 35, No. 1 (Jan-Mar 2012), 5-13
Suggested Citation
Prakasit Chirappapha, Thongchai Sukarayothin, Yodying Wasuthit, Ronnarat Suvikapalornkul, Panuwat Lertsithichai, Youwanush Kongdan, ประกาศิต จิรัปปภา, ธงชัย ศุกรโยธิน, ยอดยิ่ง วาสุถิตย์, รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล, ภาณุวัฒน์ เลิศสิทธิชัย, เยาวนุช คงด่าน Disease-free Probability and Triple-Negative Breast Cancer. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 35, No. 1 (Jan-Mar 2012), 5-13. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79749
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Disease-free Probability and Triple-Negative Breast Cancer
Alternative Title(s)
การอยู่รอดโดยปราศจากโรคในโรคมะเร็งเต้านมประเภท triple negative
Other Contributor(s)
Abstract
Objective: To compare the probabilities of local recurrence and distant metastasis between women with triple-negative and non- triple negative breast cancers.
Methods: Medical and pathological records of breast cancer patients treated between the years 2002 and 2006 were reviewed.
Results: There were 256 patients with complete data on estrogen receptor (ER), progesterone receptor (PR), and human epidermal growth factor receptor-2 (HER2) expression determinations. There were 54 patients (21%) with triple-negative (ER-, PR-, HER2 -) cancers. Triple-negative patients were more likely to have larger tumors with higher histologic grade. The median fallow-up time was 4 years. The probabilities of local and distant recurrence were similar between the two groups of patients. Only two factors were independently and significantly associated with overall recurrence: tumor stage and tumor size.
Conclusion: Triple-negative breast cancer did not have a higher risk for both local recurrence and distant metastasis when compared with non-triple negative cancer.
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบโอกาสเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำเฉพาะที่และในอวัยวะอื่นๆ ทั่วร่างกายระหว่างผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหญิงประเภท triple negative และประเภทไม่เป็น triple negative วิธีการศึกษา: ได้ทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการรักษาระหว่างปี พ.ศ. 2545 ถึงปี พ.ศ. 2549 ข้อมูลที่เก็บบันทึกประกอบด้วย อายุ ผลตรวจทางคลินิก ผลตรวจทางรังสีรักษา และพยาธิวิทยา การจัดระยะมะเร็ง ผลตรวจตัวจับฮอร์โมนและ human epidermal growth factor receptor 2 (HER2) ในเนื้อเยื้อ การเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำที่อวัยวะต่างๆ และระยะเวลาติดตามผู้ป่วยจนเกิดโรคปรากฏซ้ำ ผลการศึกษา: พบผู้ป่วยจำนวน 256 รายที่มีข้อมูลผลตัวจับฮอร์โมนเอสโตรเจน (ER), ตัวจับโปรเจสเตอโรน(PR) และ HER2 ครบทุกราย มีผู้ป่วย 54 ราย (ร้อยละ 21) ที่เป็นมะเร็งเต้านมในประเภท triple negative (ER-, PR-, HER2 -) พบว่าผู้ป่วยมะเร็ง triple negative โดยโอกาสมีมะเร็งกระจายไปต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้เทียบเท่าในผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม มีค่ามัธยฐานของระยะเวลาติดตามผู้ป่วย คือ 4 ปี พบโอกาสเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำที่อวัยวะต่างๆ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม มีปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำ 2 ปัจจัย อันได้แก่ การจัดระยะมะเร็งและขนาดของมะเร็ง สรุป: มะเร็งเต้านมประเภท triple negative ไม่แตกต่างชัดเจนจากมะเร็งประเภทไม่เป็น triple negative ในแง่ของการเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำทั้งที่เกิดเฉพาะที่และที่เกิดในอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบโอกาสเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำเฉพาะที่และในอวัยวะอื่นๆ ทั่วร่างกายระหว่างผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหญิงประเภท triple negative และประเภทไม่เป็น triple negative วิธีการศึกษา: ได้ทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการรักษาระหว่างปี พ.ศ. 2545 ถึงปี พ.ศ. 2549 ข้อมูลที่เก็บบันทึกประกอบด้วย อายุ ผลตรวจทางคลินิก ผลตรวจทางรังสีรักษา และพยาธิวิทยา การจัดระยะมะเร็ง ผลตรวจตัวจับฮอร์โมนและ human epidermal growth factor receptor 2 (HER2) ในเนื้อเยื้อ การเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำที่อวัยวะต่างๆ และระยะเวลาติดตามผู้ป่วยจนเกิดโรคปรากฏซ้ำ ผลการศึกษา: พบผู้ป่วยจำนวน 256 รายที่มีข้อมูลผลตัวจับฮอร์โมนเอสโตรเจน (ER), ตัวจับโปรเจสเตอโรน(PR) และ HER2 ครบทุกราย มีผู้ป่วย 54 ราย (ร้อยละ 21) ที่เป็นมะเร็งเต้านมในประเภท triple negative (ER-, PR-, HER2 -) พบว่าผู้ป่วยมะเร็ง triple negative โดยโอกาสมีมะเร็งกระจายไปต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้เทียบเท่าในผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม มีค่ามัธยฐานของระยะเวลาติดตามผู้ป่วย คือ 4 ปี พบโอกาสเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำที่อวัยวะต่างๆ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม มีปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำ 2 ปัจจัย อันได้แก่ การจัดระยะมะเร็งและขนาดของมะเร็ง สรุป: มะเร็งเต้านมประเภท triple negative ไม่แตกต่างชัดเจนจากมะเร็งประเภทไม่เป็น triple negative ในแง่ของการเกิดมะเร็งปรากฏซ้ำทั้งที่เกิดเฉพาะที่และที่เกิดในอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย