Publication: Factors Influencing Medication Adherence in Nepalese Patients with Essential Hypertension
Issued Date
2562
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Nursing Science Journal of Thailand. Vol. 37, No. 3 (July - Sep 2017), 18-31
Suggested Citation
Prabha Shrestha, Doungrut Wattanakitkrileart, Kanaungnit Pongthavornkamol, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล Factors Influencing Medication Adherence in Nepalese Patients with Essential Hypertension. Nursing Science Journal of Thailand. Vol. 37, No. 3 (July - Sep 2017), 18-31. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48255
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Influencing Medication Adherence in Nepalese Patients with Essential Hypertension
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุในประเทศเนปาล
Abstract
Purpose: To identify the level of medication adherence and to examine the predicting factors of medication adherence in Nepalese patients with essential hypertension.
Design: Correlational predictive study.
Methods: A cross-sectional study was conducted amongst 140 participants attending the tertiary level university hospital in Kavre, district of Nepal between December 2017 and January 2018. Research instruments included Hill Bone Medication Adherence Scale, Modified Medical Outcome Study Social Support Survey, Patient Doctor Relationship Questionnaire, and Hypertension Knowledge Level Scale. Descriptive statistics, and binary logistic regression analysis were applied for data analysis.
Main findings: Mean age of the participants was 53.82 (SD = 12.12), in which 55% were male. Medication adherence rate in Napalese patients with essential hypertension was 62.1%. Logistic regression model explained 39% of the variance on medication adherence. The significant predictors of medication adherence were; Patient-doctor relationship (OR = 1.10, 95% CI[1.01-1.20]) and knowledge about hypertension (OR = 1.29, 95% CI: 1.14-1.45). Participants who had better relationships with their doctor were 1.10 times more likely to adhere with their medication regimen. Similarly, the participants with more knowledge about hypertension were 1.29 times more likely to have the better adherence medication regimen.
Conclusion and recommendations: Medication adherence rate among Nepalese hypertensive patients were low which is significantly predicted by patient-doctor relationship and the patients' knowledge about hypertension. Health care facilities and nursing authorities of Nepal need to promote knowledge about hypertension and encourage positive relationship between patients and providers to improve medication adherence.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุในประเทศเนปาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาภาคตัดขวางได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุจำนวน 140 คนที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยระดับตตยิภูมิแห่งหนึ่งในอำเภอกัฟล์ของประเทศเนปาล ระหว่างเดือนธันวาคม 2017 ถึงมกราคม 2018 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบวัดความร่วมมือในการใช้ยา แบบสอบถามแหล่งสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ และแบบวัดความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกทวิ (binary logistic regression) ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 53.82 ปี (SD = 12.12) ร้อยละ 55 เป็นเพศชาย พบความร่วมมือในการใช้ยาร้อยละ 62.1 การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกทวิพบว่า ตัวแปรอิสระสามารถทำนายความร่วมมือในการใช้ยาได้ร้อยละ 39 โดยมีตัวแปรสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ (OR = 1.10, 95% CI[1.01-1.20]) และความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูง (OR = 1.29, 95% CI[1.14-1.45]) ที่สามารถทำนายได้อย่างมีนัยสำคัญ กลุ่มตัวอย่างที่มีสัมพันธภาพกับแพทย์ดี จะมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น 1.10 เท่า และกลุ่มตัวอย่างที่มีความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูงจะมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น 1.29 เท่า สรุปและข้อเสนอแนะ: ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในประเทศเนปาลมีความร่วมมือในการใช้ยาอยู่ในระดับต่ำ สถานบริการด้านสุขภาพและหน่วยงานการพยาบาลของประเทศเนปาลจำเป็นต้องมุ่งเน้นในเรื่องของการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงให้ผู้ป่วย และส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ เพื่อความร่วมมือในการใช้ยาที่ดี
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุในประเทศเนปาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาภาคตัดขวางได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุจำนวน 140 คนที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยระดับตตยิภูมิแห่งหนึ่งในอำเภอกัฟล์ของประเทศเนปาล ระหว่างเดือนธันวาคม 2017 ถึงมกราคม 2018 เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบวัดความร่วมมือในการใช้ยา แบบสอบถามแหล่งสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ และแบบวัดความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกทวิ (binary logistic regression) ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 53.82 ปี (SD = 12.12) ร้อยละ 55 เป็นเพศชาย พบความร่วมมือในการใช้ยาร้อยละ 62.1 การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกทวิพบว่า ตัวแปรอิสระสามารถทำนายความร่วมมือในการใช้ยาได้ร้อยละ 39 โดยมีตัวแปรสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ (OR = 1.10, 95% CI[1.01-1.20]) และความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูง (OR = 1.29, 95% CI[1.14-1.45]) ที่สามารถทำนายได้อย่างมีนัยสำคัญ กลุ่มตัวอย่างที่มีสัมพันธภาพกับแพทย์ดี จะมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น 1.10 เท่า และกลุ่มตัวอย่างที่มีความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูงจะมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น 1.29 เท่า สรุปและข้อเสนอแนะ: ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในประเทศเนปาลมีความร่วมมือในการใช้ยาอยู่ในระดับต่ำ สถานบริการด้านสุขภาพและหน่วยงานการพยาบาลของประเทศเนปาลจำเป็นต้องมุ่งเน้นในเรื่องของการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงให้ผู้ป่วย และส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ เพื่อความร่วมมือในการใช้ยาที่ดี