Publication: แนวทางการปฏิบัติในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ :กรณีศึกษา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.contributor.author | รุ่งนภา จีนโสภา | en_US |
dc.contributor.author | Rungnapa Jensopa | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-25T07:21:26Z | |
dc.date.available | 2022-10-25T07:21:26Z | |
dc.date.created | 2565-10-25 | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.description.abstract | บทความวิชาการนี้ ผู้เขียนได้วิเคราะห์ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน กรณีที่วงเงินงบประมาณในการจัดซื้อจัดจ้างครั้งหนึ่งไม่เกิน 10,000 บาท ของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การขออนุมัติในหลักการเพื่อดำเนินการจัดหาพัสดุเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการจัดหาพัสดุเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ขั้นตอนที่ 3 การรายงานขอความเห็นชอบในการจัดหาพัสดุเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ขั้นตอนที่ 4 การดำเนินการเบิกจ่าย และจากการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดหาพัสดุที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ปัญหาที่เกิดขึ้นมีทั้งปัญหาที่สามารถควบคุมได้ และไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้สามารถวิเคราะห์และจำแนกสภาพปัญหาในการดำเนินการออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ (1) ปัญหาด้านการวางแผนการจัดหาพัสดุ (2) ปัญหาด้านการดำเนินการจัดหาพัสดุ และ (3) ปัญหาด้านกระบวนการเบิกจ่าย โดยบทความวิชาการนี้ผู้เขียนได้นำเสนอแนวทางปฏิบัติเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินงาน ของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อไป | en_US |
dc.description.abstract | In this academic article, the author presents the process of procuring supplies related to administrative expenses, especially if the budget limit is not more than 10,000 baht of the Faculty of Social Sciences and Humanities. Mahidol University by showingthe following procedures, Step 1: Requesting Principal Approval for Procurement of Supplies, Step 2: Procurement Processing on Administrative Expenses, Step 3: Preparation of the Procurement Report, and Step 4: Disbursement Processing. In addition, the operation of procurement of materials of the type "Administrative expenses" in the past found that both problems can be controlled, and cannot be controlled the authors can divide the problem into three categories: (1) procurement planning problems, (2) procurement operations problems, and (3) disbursement process problems. Finally, the author presents practical guidelines for the implementation of the Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 223-237 | en_US |
dc.identifier.issn | 1513-8429 | |
dc.identifier.uri | https://hdl.handle.net/20.500.14594/79949 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | จัดซื้อจัดจ้างพัสดุ | en_US |
dc.subject | ค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน | en_US |
dc.subject | Public Procurement | en_US |
dc.subject | Administrative Expenses | en_US |
dc.title | แนวทางการปฏิบัติในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ :กรณีศึกษา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.title.alternative | Procurement Practice Guidelines about Administrative Autonomous University: A Case Study of Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so02.tci-thaijo.org/index.php/sahasart/article/view/252835/171867 |