Publication: Factors Related to Quality of Life among Patients with Inflammatory Bowel Disease
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 66-73
Suggested Citation
Le Thi Thuy, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Wallada Chanruangvanich, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, Wimolrat Puwarawuttipanit Factors Related to Quality of Life among Patients with Inflammatory Bowel Disease. Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 66-73. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44152
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Related to Quality of Life among Patients with Inflammatory Bowel Disease
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ
Abstract
Purpose: To explore factors related to quality of life (QOL) among patients with Inflammatory Bowel Diseases (IBD).
Design: Descriptive correlational study.
Methods: The sample was 115 out-patients with IBD in the Gastrointestinal Department and Functional Examinations Department, Bach Mai Hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected using patients’ hospital records and 3 questionnaires: 1) the 36-Item Short Form Health Survey (SF-36) to assess QOL, 2) the Hopkins Symptom Checklist-25 (HSCL-25) to assess anxiety and depression, and 3) the Crohn’s and Colitis Knowledge Score (CCKNOW) to assess IBD-related knowledge. Descriptive statistics and Spearman’s rho were employed to analyze general characteristics and test the relationships among studies variables.
Main findings: The findings indicated that anxiety and depression were significantly negative related to QOL of patients with IBD (rs = - .649, p < .05); while BMI and knowledge about disease were significantly positive related to QOL of patients with IBD (rs = .345, rs = .565, p < .05).
Conclusion and recommendations: The result revealed that patients with IBD had a below average level of QOL. Anxiety and depression were negatively related to QOL; while BMI and knowledge about disease were positively related to QOL of patients with IBD. Therefore, nurses should develop program to provide the knowledge about disease and decrease anxiety and depression of the patients with IBD in order to promote QOL
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ (IBD) รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ จำนวน 115 คน ที่มารับการรักษาในหน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร และหน่วยตรวจการทำงานของร่างกาย โรงพยาบาลแบ็คมาย ฮานอย ประเทศเวียตนาม เก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1) คุณภาพชีวิต ประเมินด้วย the 36-Item Short Form Health Survey (SF-36) 2) ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ประเมินด้วย the Hopkins Symptom Checklist-25 (HSCL-25) และ 3) ความรู้เกี่ยวกับโรค ประเมินด้วย the Crohn’s and Colitis Knowledge Score (CCKNOW) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย Spearman’s Rho ผลการวิจัย: ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต (rs = - .649, p < .05); ขณะที่ดัชนีมวลกาย (BMI) และความรู้เกี่ยวกับโรคมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .345, rs = .565, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าเกณฑ์ทั่วไป ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต ส่วนดัชนีมวลกายและความรู้เกี่ยวกับโรค มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิต ดังนั้นพยาบาลควรพัฒนาโปรแกรมการให้ความรู้เกี่ยวกับโรครวมถึงการลดความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า และส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ (IBD) รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ จำนวน 115 คน ที่มารับการรักษาในหน่วยโรคระบบทางเดินอาหาร และหน่วยตรวจการทำงานของร่างกาย โรงพยาบาลแบ็คมาย ฮานอย ประเทศเวียตนาม เก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1) คุณภาพชีวิต ประเมินด้วย the 36-Item Short Form Health Survey (SF-36) 2) ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ประเมินด้วย the Hopkins Symptom Checklist-25 (HSCL-25) และ 3) ความรู้เกี่ยวกับโรค ประเมินด้วย the Crohn’s and Colitis Knowledge Score (CCKNOW) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย Spearman’s Rho ผลการวิจัย: ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต (rs = - .649, p < .05); ขณะที่ดัชนีมวลกาย (BMI) และความรู้เกี่ยวกับโรคมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .345, rs = .565, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าเกณฑ์ทั่วไป ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิต ส่วนดัชนีมวลกายและความรู้เกี่ยวกับโรค มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิต ดังนั้นพยาบาลควรพัฒนาโปรแกรมการให้ความรู้เกี่ยวกับโรครวมถึงการลดความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า และส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต