Publication:
การพัฒนารูปแบบและระบบการให้คะแนน Popular vote ของโปสเตอร์กลุ่มผลงานนวัตกรรมและงานประจำสู่งานวิจัยในมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorปิยะณัฐ พรมสาร
dc.contributor.authorPiyanat Promsarn
dc.date.accessioned2025-05-16T04:13:35Z
dc.date.available2025-05-16T04:13:35Z
dc.date.created2568-05-16
dc.date.issued2565
dc.date.received2563-05-29
dc.description.abstractมหาวิทยาลัยมหิดลได้จัดกิจกรรมมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กรในการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และดำเนินการตามยุทธศาสตร์เพื่อเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพันธกิจต่าง ๆ ตั้งแต่ปี 2557 โดยได้เปิดรับผลงานพัฒนาคุณภาพเพื่อพิจารณารางวัลและนำเสนอในวันมหกรรมใน 4 ประเภท ซึ่งในโปสเตอร์กลุ่มผลงานนวัตกรรมและงานประจำสู่งานวิจัยได้มีการตัดสินผลงานในประเภท Popular Vote โดยใช้การให้คะแนนจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมและก่อนปี 2561 ได้ให้คะแนนโดยบัตรให้คะแนน ซึ่งต้องใช้ทรัพยากร พลังงาน มีความผิดพลาด และมีอัตราการได้ผลคะแนนกลับมาต่ำกว่าร้อยละ 30 ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาระบบการให้คะแนนดังกล่าวโดยใช้ระบบ Online (Google Drive & Quick Response Code) ในปี 2561 และ 2562 มีอัตราการได้ผลคะแนนกลับมาเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 26.47 ในปี 2560 เป็น ร้อยละ 67.39 ในปี 2561 และร้อยละ 75.50 ในปี 2562 อีกทั้งลดการใช้ทรัพยากรและบุคลากร แสดงผลข้อมูลที่เป็นเวลาจริง (Real-time) ระยะเวลาการเปิดรับผลคะแนนเพิ่มขึ้น 2 ชั่วโมง เป็นมิตร (User friendly) แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และยังเป็นวิธีการที่ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรมเพิ่มขึ้นด้วย
dc.description.abstractMahidol University organised the Mahidol University Quality Fair in 2014 to achieve its vision of becoming a learning organisation and followed a strategy to develop a mission sharing centre. The university encourages participation in quality improvement works to be considered for awards and it presented four categories for the fair. For the Innovation and Routine to research poster award, a popular vote is used as the selection criteria from participants. Before 2018, the vote system was paper-based which was energy and resource intensive, created errors, and had a low feedback rate of below 30%. The author therefore developed an online voting system (Google Drive and Quick Response Code) in 2018 and 2019. The feedback rate increased from 26.47% in 2017 to 67.39% in 2018, and then to 75.50% in 2019. This also reduced resource consumption and manpower, while the data could be shown in real-time. The voting period also increased by 2 hours. The system was user friendly for the participants and the objective of the activity was achieved better than before.
dc.format.extent11 หน้า
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 9, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2565), 84-94
dc.identifier.doihttp://doi.org/10.14456/jmu.2022.18
dc.identifier.issn2392-5515
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/110148
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderวารสาร Mahidol R2R e-Journal
dc.subjectมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectQR Code
dc.subjectPoster Vote System
dc.subjectMahidol University Quality Fair
dc.titleการพัฒนารูปแบบและระบบการให้คะแนน Popular vote ของโปสเตอร์กลุ่มผลงานนวัตกรรมและงานประจำสู่งานวิจัยในมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.title.alternativeDevelopment of Poster Vote Format and System for Innovation and Routine to Research Poster Award in Mahidol University Quality Fair
dc.typeResearch Article
dcterms.accessRightsopen access
dcterms.dateAccepted2564-08-10
dspace.entity.typePublication
oaire.citation.endPage94
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage84
oaire.citation.titleวารสาร Mahidol R2R e-Journal
oaire.citation.volume9
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองพัฒนาคุณภาพ

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
op-ar-piyanat-2565.pdf
Size:
713.73 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections