Publication: Technologies-Enhanced Anatomical Study in Undergraduate Medical Students in One of the Medical Schools in Thailand
Issued Date
2021
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Chakri Naruebodindra Medical Institute Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 44, No. 4 (October-December 2021), 44-52
Suggested Citation
Pakpoom Thintharua, Permphan Dharmasaroja, ภาคภูมิ ถิ่นท่าเรือ, เพิ่มพันธุ์ ธรรมสโรช Technologies-Enhanced Anatomical Study in Undergraduate Medical Students in One of the Medical Schools in Thailand. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 44, No. 4 (October-December 2021), 44-52. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72224
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Technologies-Enhanced Anatomical Study in Undergraduate Medical Students in One of the Medical Schools in Thailand
Alternative Title(s)
เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนกายวิภาคศาสตร์สำหรับนักศึกษาแพทยศาสตร์ระดับปริญญาตรีของโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่งในประเทศไทย
Abstract
Anatomy is an essential preclinical subject of undergraduate medical education. The traditional practical studies on cadavers are widely used in medical schools. It enhances active and deep learning, preparing students for clinical practice. However, the high costs, the time-consuming, and the health problems from chemical hazards, to which the staff exposed are considered. Computer-based learning (CBL) technologies can increase the efficiency of students in understanding anatomy. This review provides an overview of CBL technologies such as Anatomage table 7.0, zSpace, Complete Anatomy app, and 4D Interactive Anatomy that prepare Ramathibodi medical students for enhanced anatomical understanding and self-learning. The integration methods between traditional cadaveric dissection and the CBL in the curriculum can enhance the classroom experience, student engagement, learning, retention, and improvement of Ramathibodi medical student’s knowledge in anatomy.
กายวิภาคศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนหลักสูตรแพทยศาสตร์ในชั้นพรีคลินิก การใช้ร่างอาจารย์ใหญ่เป็นสื่อการสอนยังคงเป็นที่นิยมในหมู่โรงเรียนแพทย์ เนื่องจากสามารถส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในเชิงลึก รวมทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาแพทย์ก่อนขึ้นชั้นคลินิก อย่างไรก็ตาม ปัญหาด้านค่าใช้จ่ายและระยะเวลาที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ร่างอาจารย์ใหญ่ รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพจากการได้รับสารเคมีอันตรายเป็นเวลานาน เป็นสิ่งที่ควรนำมาพิจารณาในหลักสูตร การใช้คอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ (Computer-based learning, CBL) จึงมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนกายวิภาคศาสตร์ บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอวิธีการเรียนโดยใช้ CBL ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ เช่น Anatomage Table 7.0, zSpace, Complete Anatomy app, และ 4D Interactive Anatomy ให้แก่นักศึกษาแพทยศาสตร์ในระดับปริญญาตรี สังกัดคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อให้เกิดความเข้าใจเนื้อหามากขึ้น เพิ่มกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยสอนด้วยวิธีการชำแหละอาจารย์ใหญ่แบบดั้งเดิมร่วมกับการใช้ CBL ในหลักสูตร เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ในห้องเรียน เพิ่มความกระตือรือร้นของผู้เรียน ส่งเสริมทักษะความจำให้ดีขึ้น และพัฒนาปรับปรุงองค์ความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ของนักศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตร์ระดับปริญญาตรี
กายวิภาคศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนหลักสูตรแพทยศาสตร์ในชั้นพรีคลินิก การใช้ร่างอาจารย์ใหญ่เป็นสื่อการสอนยังคงเป็นที่นิยมในหมู่โรงเรียนแพทย์ เนื่องจากสามารถส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในเชิงลึก รวมทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาแพทย์ก่อนขึ้นชั้นคลินิก อย่างไรก็ตาม ปัญหาด้านค่าใช้จ่ายและระยะเวลาที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ร่างอาจารย์ใหญ่ รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพจากการได้รับสารเคมีอันตรายเป็นเวลานาน เป็นสิ่งที่ควรนำมาพิจารณาในหลักสูตร การใช้คอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ (Computer-based learning, CBL) จึงมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนกายวิภาคศาสตร์ บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอวิธีการเรียนโดยใช้ CBL ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ เช่น Anatomage Table 7.0, zSpace, Complete Anatomy app, และ 4D Interactive Anatomy ให้แก่นักศึกษาแพทยศาสตร์ในระดับปริญญาตรี สังกัดคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อให้เกิดความเข้าใจเนื้อหามากขึ้น เพิ่มกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยสอนด้วยวิธีการชำแหละอาจารย์ใหญ่แบบดั้งเดิมร่วมกับการใช้ CBL ในหลักสูตร เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ในห้องเรียน เพิ่มความกระตือรือร้นของผู้เรียน ส่งเสริมทักษะความจำให้ดีขึ้น และพัฒนาปรับปรุงองค์ความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ของนักศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตร์ระดับปริญญาตรี