Publication: ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมผู้ดูแลในการจัดการดูแลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพและผลข้างเคียงระยะยาว ในเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ภายหลังสิ้นสุดการรักษา
Issued Date
2566
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
ISSN
2822-1370 (Print)
2822-1389 (Online)
2822-1389 (Online)
Journal Title
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล
Volume
29
Issue
2
Start Page
192
End Page
207
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2566), 192-207
Suggested Citation
พจนีย์ ด่านด่ารงรักษ์, เรณูู พุกบุญมี, สามารถ ภคกษมา, จิราภรณ์ ปั้้นอยู่, Potchanee Dandamrongrak, Renu Pookboonmee, Samart Pakakasama, Jiraporn Punyoo ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมผู้ดูแลในการจัดการดูแลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพและผลข้างเคียงระยะยาว ในเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ภายหลังสิ้นสุดการรักษา. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2566), 192-207. 207. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98956
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมผู้ดูแลในการจัดการดูแลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพและผลข้างเคียงระยะยาว ในเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ภายหลังสิ้นสุดการรักษา
Alternative Title(s)
Effects of Nursing Practice Guidelines for Promoting Caregivers to Provide Care Management on Childcare Behaviors and Late Effects in Children with Acute Lymphoblastic Leukemia after Completion of Treatment
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมผู้ดูแลในการจัด การดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน ชนิดลิมโฟบลาสต์ภายหลังสิ้นสุดการรักษา และนำมาทดลองใช้โดยเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน ชนิดลิมโฟบลาสต์ ก่อนและหลังได้รับการสนับสนุนการจัด การดูแลเด็ก และติดตามผลข้างเคียงระยะยาวภายหลังสิ้นสุดการรักษา
กลุ่มตัวอย่างคือผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ตั้งแต่อายุ 1 ปี ถึง 12 ปีจำนวน 20 ราย ได้รับการสนับสนุนตามแนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาจากแนวคิดการจัดการตนเองของเครียร์ ประกอบด้วยการตั้งเป้าหมาย การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลและการประเมินผลการตัดสินใจ การลงมือปฏิบัติและการสะท้อนกลับ ตนเอง แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเตรียมการ ระยะดำเนินการ และระยะติดตาม รวมเวลา 4 เดือน เครื่องมือที่ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล (สำหรับ ผู้ดูแล) แบบ ประเมินผลข้างเคียงระยะยาว (สำหรับ ผู้ดูแล) และแบบสอบถามพฤติกรรมดูแลสุุขภาพเด็ก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำผลการศึกษาพบว่า ภายหลังได้รับ การสนับสนุนตามแนวปฏิบัติ การพยาบาล กลุ่มตัว อย่างมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน ชนิดลิมโฟบลาสต์เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ หลังดำเนินการ 1 เดือน พบมีอาการซีด 2 ราย หลังดำเนินการ 4 เดือน เด็กทั้งหมดไม่พบอาการหรืออาการแสดงความผิดปกติในทุกระบบจ ากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า พยาบาลสามารถนำแนวปฏิบัติการพยาบาลไปใช้กับ ผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน ชนิดลิมโฟบลาสต์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเด็กภายหลังสิ้นสุดการรักษาให้ เหมาะสมเพื่อส่งเสริมให้ มีสุขภาพดีขึ้น
Description
The purposes of this study were to develop nursing practice guidelines for promoting caregivers to provide childcare management for children with acute lymphoblastic leukemia (ALL) after completion of treatment to compare caregiver’s childcare behaviors for children
with ALL before and after receiving the nursing practice guidelines and to monitor late effects after the completion of treatment. The sample consisted of 20 caregivers of children with ALL from 1 year to 12 years of age who received support from nursing practice guidelines developed based on Creer’s self-management concept consisting of goal selection, information collection,information processing and evaluation, decision making, action, and self-reaction. The guidelines were divided into three phases, including the preparation phase, processing phase,and follow-up phase for four months. Data were collected using the Caregiver’s Childcare
Behavior Questionnaire, and the Late Effects Assessment Form. Descriptive statistics and one-way repeated measures ANOVA were used for data analysis. The findings revealed that after receiving support from the nursing practice guidelines, the caregivers had significantly higher mean scores of childcare behaviors for children with ALL with statistical significance.After one month, there were two children having anemia. After four months, a total of children showed no signs or symptoms of abnormalities. The study results showed that nurses could apply the nursing practice guidelines to promote caregivers of children with ALL to modify the childcare behaviors after treatment completion for improving health.