Publication: การพัฒนารูปแบบกระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2556
Resource Type
Language
tha
ISSN
1686-6959
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 9, ฉบับที่ 12 (2556), 59-69
Suggested Citation
รานี เสงี่ยม, ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล, จรรยา ชัยนาม, นัทที ศรีถม, อารี ภาวสุทธิไพศิฐ, เสรี เทียนเจลี้ การพัฒนารูปแบบกระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 9, ฉบับที่ 12 (2556), 59-69. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1347
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การพัฒนารูปแบบกระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Alternative Title(s)
The Development of a Ceramic Design Teaching Process Model for Deaf Student in Ratchasuda College, Mahidol University
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหากระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล และ 2) พัฒนารูปแบบกระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลการวิจัยสรุปดังนี้
1. สภาพและปัญหากระบวนการเรียนการสอน พบว่า ปัญหาจะอยู่ในส่วนของผู้เรียนที่ สืบเนื่องมาจากวิธีการรับรู้ของคนหูหนวกและส่งผลต่อการเตรียมการสอนและการดำเนินการสอน จึงได้พัฒนารูปแบบกระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ประกอบด้วย 9 ขั้นตอนคือ 1)นำเข้าสู่การสร้างงานออกแบบ 2)การสร้างหัวข้อและขอบเขตในการออกแบบ 3)การเก็บข้อมูล 4)การค้นคว้าหาข้อมูล(ผลิตภัณฑ์) 5)การค้นคว้าหาข้อมูล(ที่มาของการออกแบบ) 6)การวิเคราะห์ข้อมูล 7)การร่างแบบ 8)การคัดเลือกแบบและออกแบบรายละเอียด และ 9)การประเมินผลงาน
2. ปัจจัยเงื่อนไขที่เกื้อหนุนให้กระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวกมีประสิทธิภาพต้องประกอบไปด้วย ด้านผู้สอน ด้านผู้เรียน และด้านการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ ล่ามภาษามือไทย ผู้จดคำบรรยาย ผู้ช่วยสอน และเจ้าหน้าที่โสตทัศนูปกรณ์
3. ผลการประเมินรูปแบบกระบวนการสอนการออกแบบเครื่องดินเผาสำหรับนักศึกษาหูหนวกโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 ท่าน พบว่ามีความเหมาะสม (Mean อยู่ระหว่าง 4.30 ถึง 4.60) และความเป็นไปได้ (Mean อยู่ระหว่าง 4.30 ถึง 4.50) มากถึงมากที่สุดในการนำไปใช้
The purpose of this study were to: 1) study states and problems of a ceramic design teaching process and 2) develop a teaching process model of ceramic design for deaf student in Ratchasuda College, Mahidol University. Results indicate that the main problem of the ceramic design instruction co mes from the deaf students’ perception problem resulting in negative effects on preparation and teaching processes. A model of teaching processes, therefore, has been developed for the purpose of solving the problem. The model includes 9 important steps as follow ; 1) introducing the ceramic design works, 2) posting a construct to ground the creation of topic and scope of ceramic design, 3) teaching how to collect the product data, 4) searching for product information, 5) searching for the data base of ceramic designs, 6) conducting data analyses, 7) sketching and modeling, 8) selecting the designs and discussing on the product details, and 9) evaluating the product. With regard to the key supportive factors that could be helpful in the development of effective teaching process, the researcher can give the list namely; 1) the instructor factors, 2) the student factors, and 3) the academic support factors including interpreter, the note taker, the teaching assistant, and the audio-visual technician. The evaluation results giving by 10 experts, in terms of the degrees of suitability and feasibility, the design model were on the averages of 4.30 to 4.60 and 4.30 to 4.50, respectively.
The purpose of this study were to: 1) study states and problems of a ceramic design teaching process and 2) develop a teaching process model of ceramic design for deaf student in Ratchasuda College, Mahidol University. Results indicate that the main problem of the ceramic design instruction co mes from the deaf students’ perception problem resulting in negative effects on preparation and teaching processes. A model of teaching processes, therefore, has been developed for the purpose of solving the problem. The model includes 9 important steps as follow ; 1) introducing the ceramic design works, 2) posting a construct to ground the creation of topic and scope of ceramic design, 3) teaching how to collect the product data, 4) searching for product information, 5) searching for the data base of ceramic designs, 6) conducting data analyses, 7) sketching and modeling, 8) selecting the designs and discussing on the product details, and 9) evaluating the product. With regard to the key supportive factors that could be helpful in the development of effective teaching process, the researcher can give the list namely; 1) the instructor factors, 2) the student factors, and 3) the academic support factors including interpreter, the note taker, the teaching assistant, and the audio-visual technician. The evaluation results giving by 10 experts, in terms of the degrees of suitability and feasibility, the design model were on the averages of 4.30 to 4.60 and 4.30 to 4.50, respectively.