Publication: Flood disater preparedness behavior among heads of households om rural Muang district, Trang province of Thailand
Submitted Date
2009-01
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2009
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
eng
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Physical Location
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.1 (2009), 97-107
Citation
Tomabechi, Noriko, Boonyong Kiewkarnka, บุญยง เกี่ยวการค้า, Jiraporn Chompikul, จิราพร ชมพิกุล (2009). Flood disater preparedness behavior among heads of households om rural Muang district, Trang province of Thailand. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14594/1630.
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Flood disater preparedness behavior among heads of households om rural Muang district, Trang province of Thailand
Alternative Title(s)
พฤติกรรมการเตรียมความพร้อมของหัวหน้าครอบครัวในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่ในเขตชนบทของอำเภอเมือง จังหวัดตรัง ประเทศไทย
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
A cross-sectional descriptive study was conducted by interviewing two hundred and eleven
heads of households in Muang District, Trang Province of Thailand. A structured questionnaire
was used to collect data in 12 villages of 2 Sub-districts from18th to 21st of January
2007. The aims were to identify flood disaster preparedness behavior among heads of households
and to identify related factors towards flood disaster preparedness behavior such as
socio-demographic factors, predisposing factors, reinforcing factors and enabling factors. The
study investigated the association between various independent variables and dependent
variable.
The result revealed that the more than one-half of heads of households had the good level
of flood disaster preparedness behavior with good knowledge and high to moderate
perception. Regarding related factors, it was found that following factors were statistically
significant associated with flood preparedness behavior: sex, number of family member,
occupation, family income, education, knowledge, perception, frequency of flood
experiences, involvement community-based flood disaster preparedness activities.
Based on the study findings, it is recommended that community and local government have
to play an important role on maintaining and improving of the flood disaster preparedness
behavior, strengthening community-based disaster preparedness activities.
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวางเชิงพรรณนา โดยสัมภาษณ์ 211 หัวหน้าครอบครัว ในอำเภอเมือง จังหวัดตรัง ประเทศไทย การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามใน 12 หมู่บ้านของ 2 ตำบลในช่วงวันที่18 ถึง 21 มกราคม 2550 วัตถุประสงค์เพื่อระบุ พฤติกรรมการเตรียมความพร้อมของหัวหน้าครอบครัวในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่และระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมของหัวหน้าครอบครัวในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่ ได้แก่ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และสังคม ปัจจัยนำ ปัจจัยเสริม และปัจจัยเอื้อ นอกจากนี้การวิจัยยังได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่ามากกว่าครั้งหนึ่งของหัวหน้าครอบครัว มีพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี มีองค์ความรู้ระดับดีและการรับรู้อยู่ในระดับปานกลางถึงสูง เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยนี้ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่ ได้แก่ เพศ จำนวนสมาชิกของครอบครัว อาชีพ รายได้ต่อครอบครัว การศึกษา ความรู้ การรับรู้ ความถของประสบการณ์น้ำท่วม กิจกรรม การเตรียมความพร้อมของการเกิดน้ำท่วมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จากผลการศึกษาดังกล่าว ข้อแนะนำเพื่อที่จะให้เกิดการปรับปรุงพฤติกรรมการเตรียม ความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่อย่างยิ่งยืนคือ การสร้างความเข้มแข็งในกิจกรรมการเตรียม ความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นสิ่งจำเป็น โดยชุมชนและองค์กรท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในกิจกรรมดังกล่าว
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวางเชิงพรรณนา โดยสัมภาษณ์ 211 หัวหน้าครอบครัว ในอำเภอเมือง จังหวัดตรัง ประเทศไทย การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามใน 12 หมู่บ้านของ 2 ตำบลในช่วงวันที่18 ถึง 21 มกราคม 2550 วัตถุประสงค์เพื่อระบุ พฤติกรรมการเตรียมความพร้อมของหัวหน้าครอบครัวในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่และระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมของหัวหน้าครอบครัวในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่ ได้แก่ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และสังคม ปัจจัยนำ ปัจจัยเสริม และปัจจัยเอื้อ นอกจากนี้การวิจัยยังได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่ามากกว่าครั้งหนึ่งของหัวหน้าครอบครัว มีพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี มีองค์ความรู้ระดับดีและการรับรู้อยู่ในระดับปานกลางถึงสูง เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยนี้ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่ ได้แก่ เพศ จำนวนสมาชิกของครอบครัว อาชีพ รายได้ต่อครอบครัว การศึกษา ความรู้ การรับรู้ ความถของประสบการณ์น้ำท่วม กิจกรรม การเตรียมความพร้อมของการเกิดน้ำท่วมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จากผลการศึกษาดังกล่าว ข้อแนะนำเพื่อที่จะให้เกิดการปรับปรุงพฤติกรรมการเตรียม ความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่อย่างยิ่งยืนคือ การสร้างความเข้มแข็งในกิจกรรมการเตรียม ความพร้อมในกรณีเกิดน้ำท่วมใหญ่โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นสิ่งจำเป็น โดยชุมชนและองค์กรท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในกิจกรรมดังกล่าว