Publication: Safe sex behavior towards HIV/AIDS among Myanmar reproductive aged migrants in Muang district, Samutsakhon province, Thailand
Submitted Date
2009-06
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2009
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
eng
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1905-1387
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Physical Location
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.1, (2009),109-119
Citation
Kya Soe Nyunt, Boonyong Kiewkarnka, บุญยง เกี่ยวการค้า, Jutatip Sillabutra, จุฑาธิป ศีลบุตร (2009). Safe sex behavior towards HIV/AIDS among Myanmar reproductive aged migrants in Muang district, Samutsakhon province, Thailand. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1631.
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Safe sex behavior towards HIV/AIDS among Myanmar reproductive aged migrants in Muang district, Samutsakhon province, Thailand
Alternative Title(s)
พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยเกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส์ในกลุ่มอพยพชาวเมียนมาร์วัยเจริญพันธ์ุในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
A cross sectional description study design using a stratified random sampling technique
was employed investigate safe sex behavior among Myanmar reproductive aged migrants in
Muang district, Samut Sakhon Province, Thailand, in January 2008. Structure questionnaire
interview was applied to collect data. Description statistics and Chi-square test were used for
data analysis.
The safe sex behaviors studied in this research are no sex with unknown partner,
faithfulness to spouse, intention to use condom, and consistent condom use. Over two-thirds
(70%) of the respondents have moderate safe sex behavior while 17.31 percent and 12.69
percent have good behavior and poor behavior respectively. The prevalence of consistent
condom use is 58.08 percent. The results showed that the variables age, gender, educational
level, marital status, knowledge, perceived susceptibility, printed materials, influencing person
and experience of seeing AIDS patients are associated with their safe sex behavior. Health
personnel are the most influencing people among them.
Basic health education program providing true knowledge and logical thinking about HIV/
AIDS should be encouraged. One cultural norm, faithfulness to one’s spouse, should be
maintained to promote safe sex behavior. Further in-depth qualitative study about safe sex
behavior should be done.
การศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวางออกแบบโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิเพื่อค้นหาพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยในกลุ่มอพยพชาวเมียนมาร์วัยเจริญพันธุ์จำนวน 260 คน ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างด้วยแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบความสมพันธ์ของค่าเฉลื่ยโดยไคสแควร์ ตัววัดพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ประกอบด้วยการงดเว้นมีเพศสัมพันธ์กับคนที่ไม่รู้จักการซื่อสัตย์ต่อคู่ครอง การตั้งใจใช้ถุงยางอนามัย และใช้ทุกครั้งเมื่อเพศสัมพันธ์ผลการศึกษาพบว่า สองในสามของกลุ่มตัวอย่าง (70%) มีพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยระดับปานกลาง ขณะที่ร้อยละ 17.31 อยู่ในระดับดีและร้อยละ 12.69 อยู่ในระดับไม่ดีตามลำดับ การใช้ถุงยางอนามัยสม่ำเสมอมีเพียง ร้อยละ 58.08 นอกจากนี้ยังพบว่า อายุ เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ความรู้เรื่องเอดส์ การรับรู้ความเสี่ยงต่อการรับเชื้อ สื่อสิ่งพิมพ์ อิทธิพลของบุคคล และประสบการณ์ ได้เห็นผู้ป่วยเอดส์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย บุคลากรด้านสุขภาพ เป็นผู้มีอิทธิพลสูงสุดในกลุ่มอิทธิพลของบุคคล
การศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวางออกแบบโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิเพื่อค้นหาพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยในกลุ่มอพยพชาวเมียนมาร์วัยเจริญพันธุ์จำนวน 260 คน ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างด้วยแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบความสมพันธ์ของค่าเฉลื่ยโดยไคสแควร์ ตัววัดพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ประกอบด้วยการงดเว้นมีเพศสัมพันธ์กับคนที่ไม่รู้จักการซื่อสัตย์ต่อคู่ครอง การตั้งใจใช้ถุงยางอนามัย และใช้ทุกครั้งเมื่อเพศสัมพันธ์ผลการศึกษาพบว่า สองในสามของกลุ่มตัวอย่าง (70%) มีพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยระดับปานกลาง ขณะที่ร้อยละ 17.31 อยู่ในระดับดีและร้อยละ 12.69 อยู่ในระดับไม่ดีตามลำดับ การใช้ถุงยางอนามัยสม่ำเสมอมีเพียง ร้อยละ 58.08 นอกจากนี้ยังพบว่า อายุ เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ความรู้เรื่องเอดส์ การรับรู้ความเสี่ยงต่อการรับเชื้อ สื่อสิ่งพิมพ์ อิทธิพลของบุคคล และประสบการณ์ ได้เห็นผู้ป่วยเอดส์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย บุคลากรด้านสุขภาพ เป็นผู้มีอิทธิพลสูงสุดในกลุ่มอิทธิพลของบุคคล