Publication: Factors associated with tobacco use among male adolescents in Magway Township, Myanmar
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2013
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
eng
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1905-1387
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Physical Location
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 11, No.1 (๋Jan-Apr 2013), 19-32
Citation
Htein Linn, Jiraporn Chompikul, Jutatip Sillabutra, Somsak Wongsawass, เทียน ลิน, จิราพร ชมพิกุล, จุฑาธิป ศีลบุตร, สมศักดิ์ วงศาวาส (2013). Factors associated with tobacco use among male adolescents in Magway Township, Myanmar. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14594/62186.
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors associated with tobacco use among male adolescents in Magway Township, Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริโภคยาสูบในกลุ่มวัยรุ่นชายในเมืองแมกเวย์ ประเทศพม่า
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
A community based cross-sectional study was carried out in Magway Township, Myanmar to examinefactors influencing tobacco use among male adolescents aged 18-24 years. In March, 2012, 275 male adolescents were recruited in this study and the data were collected by using structured questionnaires. Chi-square tests and multiple logistic regression were used to examine factors associated with tobacco use. The results showed that the prevalence of tobacco use was 49%. Among the users, 94.1% were smokelesstobacco users and 65.4% were smokers and 65.4% were dual users. The median age of the respondents was 20 years and the majority were 18-20 years. Only 1.1% had good knowledge concerning risk of tobacco use. Father education, father smoking habit, presence of friends using tobacco, receiving tobacco advertise-ments from company and media and parental monitoring were significant predictors of tobacco use among male adolescents. Male adolescents who have friends using tobacco were 9 times more likely to use tobacco while adjusting the other factors. The study conducted that tobacco use among male adolescents shows no sign of decreasing. Interventions such as health promotion training for the adolescents together with their friends about the harmful effect of tobacco use should be promoted at the school level. Advertising campaigns against tobacco use are also needed to be strengthened to promote behavioral change within the specific age group and gender.
การวิจัยแบบตัดขวางเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคยาสูบในกลุ่มวัยรุ่นชายอายุ 18-24 ปี เก็บข้อมูล ในมีนาคม 2555 โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มวัยรุ่นชายในเมืองแมกเวย์ ประเทศพม่า จำนวน 275 คน วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ร้อยละ 49 ของวัยรุ่นชายบริโภคยาสูบ โดยที่ในกลุ่มผู้บริโภคยาสูบ ร้อยละ 94.1 ของผู้บริโภคยาสูบจะใช้ยาสูบแบบไร้ควัน (เคี้ยว) และร้อยละ 65.4 ของผู้บริโภคยาสูบจะใช้บุหรี่ และร้อยละ 65.4 ของผู้บริโภคยาสูบจะใช้ทั้งยาสูบแบบไร้ควันและบุหรี่ วัยรุ่นชายมีอายุมัธยฐานที่ 20 ปี และส่วนใหญ่มีอายุ 18-20 ปี มีเพียงร้อยละ 1.1 ของกลุ่มวัยรุ่นชายมีระดับความรู้เกี่ยวกับอันตรายในการใช้บุหรี่ในระดับดี การศึกษา ยังพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริโภคบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นชาย ได้แก่ ระดับการศึกษาและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของ พ่อ การบริโภคบุหรี่ของเพื่อน การได้รับข้อมูลผ่านการโฆษณา และการควบคุมจากพ่อแม่ โดยกลุ่มวัยรุ่นชายที่มี เพื่อนบริโภคยาสูบจะมีแนวโน้มที่จะบริโภคยาสูบเป็น 9 เท่า โดยควบคุมอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ควรจัดให้มีการอบรมด้านการส่งเสริมสุขภาพในเรื่องผลเสียต่อสุขภาพจากการบริโภค บุหรี่ ที่โรงเรียน ให้กับกลุ่มวัยรุ่นและเพื่อนพร้อมกัน รวมถึงควรมีโครงการรณรงค์เลิกบุหรี่ที่เหมาะสมกับกลุ่ม อายุและเพศ
การวิจัยแบบตัดขวางเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคยาสูบในกลุ่มวัยรุ่นชายอายุ 18-24 ปี เก็บข้อมูล ในมีนาคม 2555 โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มวัยรุ่นชายในเมืองแมกเวย์ ประเทศพม่า จำนวน 275 คน วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ร้อยละ 49 ของวัยรุ่นชายบริโภคยาสูบ โดยที่ในกลุ่มผู้บริโภคยาสูบ ร้อยละ 94.1 ของผู้บริโภคยาสูบจะใช้ยาสูบแบบไร้ควัน (เคี้ยว) และร้อยละ 65.4 ของผู้บริโภคยาสูบจะใช้บุหรี่ และร้อยละ 65.4 ของผู้บริโภคยาสูบจะใช้ทั้งยาสูบแบบไร้ควันและบุหรี่ วัยรุ่นชายมีอายุมัธยฐานที่ 20 ปี และส่วนใหญ่มีอายุ 18-20 ปี มีเพียงร้อยละ 1.1 ของกลุ่มวัยรุ่นชายมีระดับความรู้เกี่ยวกับอันตรายในการใช้บุหรี่ในระดับดี การศึกษา ยังพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริโภคบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นชาย ได้แก่ ระดับการศึกษาและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของ พ่อ การบริโภคบุหรี่ของเพื่อน การได้รับข้อมูลผ่านการโฆษณา และการควบคุมจากพ่อแม่ โดยกลุ่มวัยรุ่นชายที่มี เพื่อนบริโภคยาสูบจะมีแนวโน้มที่จะบริโภคยาสูบเป็น 9 เท่า โดยควบคุมอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า ควรจัดให้มีการอบรมด้านการส่งเสริมสุขภาพในเรื่องผลเสียต่อสุขภาพจากการบริโภค บุหรี่ ที่โรงเรียน ให้กับกลุ่มวัยรุ่นและเพื่อนพร้อมกัน รวมถึงควรมีโครงการรณรงค์เลิกบุหรี่ที่เหมาะสมกับกลุ่ม อายุและเพศ