A study of modified chitosan for binding of iron (III)
Issued Date
1998
Copyright Date
1998
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xviii, 128 leaves : ill.
ISBN
9746612603
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Polymer Science))--Mahidol University, 1998
Suggested Citation
Sumet Kittipoom A study of modified chitosan for binding of iron (III). Thesis (M.Sc. (Polymer Science))--Mahidol University, 1998. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103527
Title
A study of modified chitosan for binding of iron (III)
Alternative Title(s)
การศึกษาไคโทแซนดัดแปรเพื่อใช้ในการจับเหล็ก (III)
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Chitin is one of the most abundant polysaccharides found in nature. Its N-deacetylated form results in higher value added derivative known as chitosan which possesses both hydroxyl and amino groups capable of various further modifications. In this work, preparation of highly deacetylated chitosan is investigated. It was found that by using 50% sodium hydroxide solution at room temperature during 4 days, about 93.5% N-deacetylated chitosan was obtained from FTIR spectroscopy. The number average molecular weight (Mn)) of the chitosan determined by gel permeable chromatography (GPC) was about 150,000. The cleavage of chitosan chain using sodium nitrite was also studied for preparing water soluble chitosan with molecular weight lower than 20,000. The functionalization of chitosan with different reagents such as phthalic anhydride, salicylic acid, and 5-sulfosalicylic acid was studied under a homogeneous condition. The preparation of phthalimido chitosan could be synthesized by the direct reaction of chitosan with phthalic anhydride but salicyloyl and 5-sulfosalicyloyl chitosans were acheived by using dicyclohexylcarbodiimide (DCC) as an activating agent. The reaction of these reagents with water soluble chitosan could be synthesized better than high molecular weight chitosan. The N-5-sulfosalicyloyl chitosan derivative was characterized by infrared and nuclear magnetic resonance (NMR) spectroscopy. This derivative gave good solubility in hydrochloric acid. The chelation behaviour of N-5-sulfosalicyloyl chitosan-ferric ion was studied in the acid condition of ferric ammonium sulphate by using uv-visible spectrometer with a temperature-controlled cuvette holder of 30 degree C. The use of a one-site ligand binding model in a non-linear least-squares program, ENZFIT was considered for calculating the formation constant. It was found that the formation constant of N-5-sulfosalicyloyl chitosan was 63.9±10.7, which is higher than that of 4-sulfophenol (0.0204). The results revealed that ferric ion bound to the N-5-sulfosalicyloyl chitosan as a one-site ligand binding.
NOTE 520 3 ไคทินเป็นพอลิแซ็กคาไลด์ที่มีมากในธรรมชาติชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเตรียมไคโทแซน ที่มีหมู่ไฮดรอกซีและอะมิโนเพื่อจะปรับปรุงในการใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ ในการศึกษานี้ จะเตรียมไคโทแซนที่มีเปอร์เซ็นต์ดีอะเซทิเลชันสูงๆ วิธีเตรียมไคโทแซนจะใช้ไคทินทำ ปฏิกิริยากับสารละลาย 50% โซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นเวลา 4 วันที่อุณหภูมิห้อง จากการ วิเคราะห์ด้วยวิธีอินฟราเรดสเปกโตรสโคปีพบว่าได้ไคโทแซนที่มี 93.5% N-deacetylation และน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยตามจำนวน Mn โดยหาจากเครื่อง gel permeable chromatography (GPC) ประมาณ 150,000 นอกจากนี้ยังศึกษาไคโทแซนที่ละลายน้ำ ได้จากการทำปฏิกิริยากับโซเดียมไนไทรท์พบว่าได้สารที่มีค่าน้ำหนักโมเลกุลน้อยกว่า 20,000 การปรับปรุงไคโทแซนด้วยพธาลิก แอนไฮไดรด์, ซาลิไซลิกแอซิด และ 5-ซัลโฟซาลิไซลิก แอซิด ทำในสภาวะเนื้อเดียวกัน การเตรียมพธาลิมิโดไคโทแซนได้ จากปฏิกิริยาโดยตรงของไคโทแซนกับพธาลิก แอนไฮไดรด์ แต่กรณีของซาลิไซโลอิว และ 5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซนจะใช้ไดไซโคลเฮกซิลคาร์บอดิอิไมด์ (DCC) เป็นสารกระตุ้น ในการเกิดปฏิกิริยา การเข้าทำปฏิกิริยาบนไคโทแซนที่ละลายน้ำสามารถเกิดได้ดีกว่า ไคโทแซนที่ไม่มีการลดน้ำหนักโมเลกุล ผลของการละลายในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน จะดีกว่าซาลิไซโลอิวและะธาลิมิโด ไคโทแซน สำหรับ พฤติกรรมของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน และเฟอริกไอออน จะศึกษาในสารละลาย กรดไฮโดรคลอริกซึ่งมีเฟอริกแอมโมเนียมซัลเฟตและควบคุมอุณหภูมิที่ 30 องศาเซลเซียส ภายในเครื่องอัลตราไวโอเลต-วิสิเบิลสเปกโตรมิเตอร์ การคำนวณค่าคงที่การเกิดสาร เชิงซ้อนจะใช้แบบจำลอง one-site ligand binding ใน non-linear least-squares program, ENZFIT และพบว่าค่าคงที่การเกิดสารเชิงซ้อนของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน เท่ากับ 63.9±10.7 ซึ่งมีค่ามากกว่า 4-ซัลโฟฟีนอลที่มีค่าเท่ากับ 0.0204 จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการจับของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน กับ เฟอริกไอออนเป็นแบบ one-site ligand binding SUBJECT 610 2 0 Mahidol University|xDissertations
NOTE 520 3 ไคทินเป็นพอลิแซ็กคาไลด์ที่มีมากในธรรมชาติชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเตรียมไคโทแซน ที่มีหมู่ไฮดรอกซีและอะมิโนเพื่อจะปรับปรุงในการใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ ในการศึกษานี้ จะเตรียมไคโทแซนที่มีเปอร์เซ็นต์ดีอะเซทิเลชันสูงๆ วิธีเตรียมไคโทแซนจะใช้ไคทินทำ ปฏิกิริยากับสารละลาย 50% โซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นเวลา 4 วันที่อุณหภูมิห้อง จากการ วิเคราะห์ด้วยวิธีอินฟราเรดสเปกโตรสโคปีพบว่าได้ไคโทแซนที่มี 93.5% N-deacetylation และน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยตามจำนวน Mn โดยหาจากเครื่อง gel permeable chromatography (GPC) ประมาณ 150,000 นอกจากนี้ยังศึกษาไคโทแซนที่ละลายน้ำ ได้จากการทำปฏิกิริยากับโซเดียมไนไทรท์พบว่าได้สารที่มีค่าน้ำหนักโมเลกุลน้อยกว่า 20,000 การปรับปรุงไคโทแซนด้วยพธาลิก แอนไฮไดรด์, ซาลิไซลิกแอซิด และ 5-ซัลโฟซาลิไซลิก แอซิด ทำในสภาวะเนื้อเดียวกัน การเตรียมพธาลิมิโดไคโทแซนได้ จากปฏิกิริยาโดยตรงของไคโทแซนกับพธาลิก แอนไฮไดรด์ แต่กรณีของซาลิไซโลอิว และ 5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซนจะใช้ไดไซโคลเฮกซิลคาร์บอดิอิไมด์ (DCC) เป็นสารกระตุ้น ในการเกิดปฏิกิริยา การเข้าทำปฏิกิริยาบนไคโทแซนที่ละลายน้ำสามารถเกิดได้ดีกว่า ไคโทแซนที่ไม่มีการลดน้ำหนักโมเลกุล ผลของการละลายในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน จะดีกว่าซาลิไซโลอิวและะธาลิมิโด ไคโทแซน สำหรับ พฤติกรรมของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน และเฟอริกไอออน จะศึกษาในสารละลาย กรดไฮโดรคลอริกซึ่งมีเฟอริกแอมโมเนียมซัลเฟตและควบคุมอุณหภูมิที่ 30 องศาเซลเซียส ภายในเครื่องอัลตราไวโอเลต-วิสิเบิลสเปกโตรมิเตอร์ การคำนวณค่าคงที่การเกิดสาร เชิงซ้อนจะใช้แบบจำลอง one-site ligand binding ใน non-linear least-squares program, ENZFIT และพบว่าค่าคงที่การเกิดสารเชิงซ้อนของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน เท่ากับ 63.9±10.7 ซึ่งมีค่ามากกว่า 4-ซัลโฟฟีนอลที่มีค่าเท่ากับ 0.0204 จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการจับของ N-5-ซัลโฟซาลิไซโลอิว ไคโทแซน กับ เฟอริกไอออนเป็นแบบ one-site ligand binding SUBJECT 610 2 0 Mahidol University|xDissertations
Description
Polymer Science (Mahidol University 1998)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Polymer Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University