Publication: ผลการใช้แกลเลียมอะลูมินัมอาร์เซไนด์ (GaAIAs) เลเซอร์รักษาอาการเสียวฟัน
Accepted Date
2006-11-23
Issued Date
2007-05
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วรวรรณ แสงกล้า, ทัศนีย์ เต็งรังสรรค์. ผลการใช้แกลเลียมอะลูมินัมอาร์เซไนด์ (GaAIAs) เลเซอร์รักษาอาการเสียวฟัน. ว ทันต มหิดล. 2550;27(2):85-97.
Suggested Citation
วรวรรณ แสงกล้า, Worawan Sangkla, ทัศนีย์ เต็งรังสรรค์, Tasanee Tengrungsun ผลการใช้แกลเลียมอะลูมินัมอาร์เซไนด์ (GaAIAs) เลเซอร์รักษาอาการเสียวฟัน. วรวรรณ แสงกล้า, ทัศนีย์ เต็งรังสรรค์. ผลการใช้แกลเลียมอะลูมินัมอาร์เซไนด์ (GaAIAs) เลเซอร์รักษาอาการเสียวฟัน. ว ทันต มหิดล. 2550;27(2):85-97.. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1043
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลการใช้แกลเลียมอะลูมินัมอาร์เซไนด์ (GaAIAs) เลเซอร์รักษาอาการเสียวฟัน
Alternative Title(s)
Desensitized effect of Gallium-Aluminum-Arsenide GaAIAs) laser in dentin hypersensitivity
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินผลการใช้ GaAlAs เลเซอร์ในการรักษาอาการเสียวฟัน
วัสดุและวิธีการ : ฟัน 70 ซี่ จากผู้ป่วย 70 คน ที่มีอาการเสียวฟันจะถูกประเมินด้วยการกระตุ้น โดยน้ำเย็น และการเขี่ย หลังจากนั้นจะถูกฉายแสงด้วยแกลเลียมอะลูมินัมอาร์เซไนด์เลเซอร์ (Gallium Aluminum Arsenide) ขนาด 30 มิลลิวัตต์ เป็นเวลา 1 นาที แล้วประเมินประสิทธิผลของฟันที่ถูกฉายแสงนี้เป็น 3 ระยะ คือทันทีที่เสร็จสิ้นการฉายแสง 15 วัน และ 30 วันหลังการรักษา
ผลการศึกษา : ผลการใช้ GaAlAs เลเซอร์ในการรักษาอาการเสียวฟัน พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างการประเมินทันทีหลังการรักษาและหลังการการรักษา 15-30 วัน แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างการรักษา 15 และ 30 วัน
บทสรุป : การรักษาอาการเสียวฟันด้วย GaAlAs เลเซอร์เป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งที่ใช้รักษาอาการเสียวฟัน
Objective : To evaluate the effect of GaAlAs laser treatment on dentin hypersensitivity. Materials and methods : Prior to desensitizing treatment, dentin hypersensitivity was assessed by a thermal stimulus and an exploration test. Seventy teeth from 70 patients with diagnosed as dentin hypersensitivity were irradiated with 30 mW GaAlAs laser for 1 minute. The efficiency of the treatment was assessed at three examination periods : immediately, 15 and 30 days after application. Results : GaAlAs laser was effective in reducing initial dentin hypersensitivity.There was statistically signigicant difference between initial values of hypersensitivity and post treatment immediately, 15 and 30 days (p<0.05). No significant difference was found between post treatment 15 days and 30 days. Conclusion : GaAlAs laser treatment may be an alternative treatment for dentin hypersensitivity.
Objective : To evaluate the effect of GaAlAs laser treatment on dentin hypersensitivity. Materials and methods : Prior to desensitizing treatment, dentin hypersensitivity was assessed by a thermal stimulus and an exploration test. Seventy teeth from 70 patients with diagnosed as dentin hypersensitivity were irradiated with 30 mW GaAlAs laser for 1 minute. The efficiency of the treatment was assessed at three examination periods : immediately, 15 and 30 days after application. Results : GaAlAs laser was effective in reducing initial dentin hypersensitivity.There was statistically signigicant difference between initial values of hypersensitivity and post treatment immediately, 15 and 30 days (p<0.05). No significant difference was found between post treatment 15 days and 30 days. Conclusion : GaAlAs laser treatment may be an alternative treatment for dentin hypersensitivity.