The preparedness of the royal Thai navy's personnel for intranet use : a case study of Institute of Advanced Naval Studies
Issued Date
2002
Copyright Date
2002
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 51 leaves : ill.
ISBN
9740417205
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Public Administration))--Mahidol University, 2002
Suggested Citation
Wetchayun Pratoomchart, Lt.Cdr. The preparedness of the royal Thai navy's personnel for intranet use : a case study of Institute of Advanced Naval Studies. Thesis (M.A. (Public Administration))--Mahidol University, 2002. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107344
Title
The preparedness of the royal Thai navy's personnel for intranet use : a case study of Institute of Advanced Naval Studies
Alternative Title(s)
การศึกษาความพร้อมของข้าราชการทหารเรือเกี่ยวกับการใช้ระบบอินทราเน็ตในการปฏิบัติงาน : ศึกษากรณีสถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง
Author(s)
Abstract
This research has the objective to study the preparedness of naval officials
in using Intranet at work in relation to circumstantial factors, to know the level of the preparedness of government officials and collect the information. This study will help in developing the procedure for changing from the current work system to one employing the Intranet. The sample group studied in this research were commissioned governments officials at the Institute of advanced Naval Studies, during the fiscal year of 2001 for 120 people, using questionnaires and analysis with the SPSS program. Comparison was made of the statistics, namely, percentages, average, standard deviations and using the Chi-square test and correlation coefficients to explain the relationship to
preparedness. From the educational results, we found that the naval officials at the Institute of Advanced Naval Studies have a medium level of preparedness to using the Intranet (61.2%). There is also a medium level of understanding of knowledge and perceptions. From basic analysis of the relationship of the preparedness government officials, it was found that personal elements (age, position, line/corps and average income) and circumstantial factors (Persuasion to use the Intranet and office support) have a significant relationship to the preparedness of officials, with statistical support. From this study, the researcher suggests that the office should plan a fixed framework for Intranet use, and short- and long-term Intranet development covering inventory, equipment, personnel and work duration. In addition, plans relating to the Intranet should be harmonized with the limited budget of the present economy. There should be a priority to fix the Intranet in offices where it is necessary, as well as the grade of personnel for its use, based on work and training. Research clearly found that high level government officials are more prepared to use the high level Intranet. Therefore, this group of personnel should be promoted and supported with matters relating to the Intranet first.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพร้อมของข้าราชการทหารเรือในการนำอินทราเน็ต มาใช้ในการปฏิบัติงาน และศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อม เพื่อให้ทราบถึงระดับความพร้อมของข้าราชการ และข้อมูลที่ได้จะเป็นแนวทางในการดำเนินการเพื่อปรับเปลี่ยนระบบการทำงานจากเดิม ไปสู่ระบบอินทราเน็ตต่อไป โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในครั้งนี้ คือ ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรของกองทัพเรือ ในสังกัดสถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูงที่ปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2544 จำนวน 120 คน โดยใช้แบบสอบถาม แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป (SPSS) โดยนำเสนอด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์แบบไคสแคว์ และสถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ เพื่ออธิบายปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อม ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการทหารเรือในสังกัดสถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง มีความพร้อม ในการใช้อินทราเน็ตในการปฏิบัติงาน ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 61.2) โดยมีความพร้อมในด้านความรู้ และ การรับรู้ในระดับปานกลาง จากการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อมของข้าราชการ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล (อายุ ชั้นยศ พรรค/เหล่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือน) และปัจจัยสภาพแวดล้อม (แรงจูงใจในการใช้อินทราเน็ต และการสนับสนุนของหน่วยงาน) มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่าการปฏิบัติงานในระดับที่สูงขึ้น หน่วยงานควรจัดทำแผนเพื่อกำหนดกรอบและแนวทางในการใช้และการพัฒนาระบบอินทราเน็ต ทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยครอบคลุมทั้งทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร และระยะเวลาใน การปฏิบัติ นอกจากนั้นแล้วในการจัดทำแผนเกี่ยวกับอินทราเน็ต เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับงบประมาณที่จำกัด ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ควรมีการกำหนดความสำคัญและความจำเป็นของหน่วยงานที่จะต้องใช้อินทราเน็ต รวมทั้งกำหนดระดับของบุคลากรในการใช้งานและการฝึกอบรม ซึ่งจากการวิจัยจะเห็นได้ชัดว่าข้าราชการในระดับชั้นยศที่สูง จะมีความพร้อมในการใช้อินทราเน็ตในระดับที่สูง ดังนั้นบุคลากรในส่วนนี้ควรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนในด้านอินทราเน็ตก่อน
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพร้อมของข้าราชการทหารเรือในการนำอินทราเน็ต มาใช้ในการปฏิบัติงาน และศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อม เพื่อให้ทราบถึงระดับความพร้อมของข้าราชการ และข้อมูลที่ได้จะเป็นแนวทางในการดำเนินการเพื่อปรับเปลี่ยนระบบการทำงานจากเดิม ไปสู่ระบบอินทราเน็ตต่อไป โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในครั้งนี้ คือ ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรของกองทัพเรือ ในสังกัดสถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูงที่ปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2544 จำนวน 120 คน โดยใช้แบบสอบถาม แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป (SPSS) โดยนำเสนอด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์แบบไคสแคว์ และสถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ เพื่ออธิบายปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อม ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการทหารเรือในสังกัดสถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง มีความพร้อม ในการใช้อินทราเน็ตในการปฏิบัติงาน ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 61.2) โดยมีความพร้อมในด้านความรู้ และ การรับรู้ในระดับปานกลาง จากการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อมของข้าราชการ พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล (อายุ ชั้นยศ พรรค/เหล่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือน) และปัจจัยสภาพแวดล้อม (แรงจูงใจในการใช้อินทราเน็ต และการสนับสนุนของหน่วยงาน) มีความสัมพันธ์ต่อความพร้อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่าการปฏิบัติงานในระดับที่สูงขึ้น หน่วยงานควรจัดทำแผนเพื่อกำหนดกรอบและแนวทางในการใช้และการพัฒนาระบบอินทราเน็ต ทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยครอบคลุมทั้งทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร และระยะเวลาใน การปฏิบัติ นอกจากนั้นแล้วในการจัดทำแผนเกี่ยวกับอินทราเน็ต เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับงบประมาณที่จำกัด ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ควรมีการกำหนดความสำคัญและความจำเป็นของหน่วยงานที่จะต้องใช้อินทราเน็ต รวมทั้งกำหนดระดับของบุคลากรในการใช้งานและการฝึกอบรม ซึ่งจากการวิจัยจะเห็นได้ชัดว่าข้าราชการในระดับชั้นยศที่สูง จะมีความพร้อมในการใช้อินทราเน็ตในระดับที่สูง ดังนั้นบุคลากรในส่วนนี้ควรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนในด้านอินทราเน็ตก่อน
Description
Public Administration (Mahidol University 2002)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Public Administration
Degree Grantor(s)
Mahidol University