The roles of crime suppression division police in suppression of hires gunmen
Issued Date
2002
Copyright Date
2002
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 74 leaves
ISBN
9740420435
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Criminology and Criminal Justice))--Mahidol University, 2002
Suggested Citation
Narong Chanapaikul The roles of crime suppression division police in suppression of hires gunmen. Thesis (M.A. (Criminology and Criminal Justice))--Mahidol University, 2002. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107354
Title
The roles of crime suppression division police in suppression of hires gunmen
Alternative Title(s)
บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปรามในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of the study were to find the level of roles in suppression of
hired gunmen by the police officers of the Crime Suppression Division and to find the performance factors which affect these roles. The subjects were 112 police officers of the Crime Suppression Division whose work involved the suppression of hired gunmen either directly or indirectly. The data were collected via questionnaires and analyzed by using SPSS for Windows statistical program. The summary of the study are as follow: 1. The subjects have moderate levels of roles in arrest, detection, information gathering, information exchange, information delivery, and surveillance in suppression
of hired gunmen but have low level of roles in prevention of crime commitment of hired gunmen. 2. The subjects with differences in official age, duration in detective task, presence of informants, external influence, support from higher rank and command line, budgeting, manpower, experience of colleagues, additional training, skill in firearm use and experience in hired gunmen suppression have differences in levels of roles in suppression of hired gunmen. Recommendations: 1. There should be coordination and cooperation among the local police authorities, the National Security Council, The National Intelligence Office and the Crime Suppression Division in suppression of hired gunmen because the assassination of politicians and businessmen could destroy national investment opportunities as a
whole and would affect national security. 2. There should be further study concerning the roles in suppression of hired gunmen in the military agencies, the National Security Council, the National intelligence Office, and other police authorities including the Border Patrol Police.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาระดับการมีบทบาทในการปราบปรามมือปืนรับจ้างของ เจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม และเพื่อหาปัจจัยในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อบทบาทในการปราบปราม กลุ่มตัวอย่างเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจในกองปราบปรามซึ่งทำงานเกี่ยวข้องกับการปราบปรามมือปืนรับจ้าง ทั้งทางตรงและทางอ้อม จำนวน 112 นาย โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ SPSS for WINDOW ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างมีบทบาทปานกลางในด้านการจับกุม การสืบสวน การรวบรวมข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูล การส่งข้อมูล และการสะกดรอยตามในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง แต่มีบทบาทต่ำในด้านการป้องกันการก่ออาชญากรรมของมือปืนรับจ้าง 2. กลุ่มตัวอย่างที่มีความแตกต่างด้านอายุราชการ ระยะเวลาการทำงานสืบสวน การมีสายข่าว อิทธิพลภายนอก การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาและหน่วยงาน การงบประมาณ กำลังคนประสบการณ์ของผู้ร่วมงาน การอบรมเพิ่มเติม ทักษะในการใช้อาวุธ และประสบการณ์ในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง มีความแตกต่างกันในระดับของบทบาทในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการประสานงานและร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างตำรวจพื้นที่ สภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักข่าวกรองแห่งชาติ และกองปราบปราม ในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง เพราะการลอบสังหารนักการเมือง และนักธุรกิจได้ทำลายการลงทุนและโอกาสการลงทุนของชาติโดยรวม รวมทั้งความมั่นคงแห่งชาติด้วย 2. ควรจะมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง ของหน่วยราชการของกองทัพ สภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักข่าวกรองแห่งชาติ และหน่วยงานตำรวจอื่น ๆ รวมทั้งตำรวจตระเวนชายแดน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาระดับการมีบทบาทในการปราบปรามมือปืนรับจ้างของ เจ้าหน้าที่ตำรวจกองปราบปราม และเพื่อหาปัจจัยในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อบทบาทในการปราบปราม กลุ่มตัวอย่างเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจในกองปราบปรามซึ่งทำงานเกี่ยวข้องกับการปราบปรามมือปืนรับจ้าง ทั้งทางตรงและทางอ้อม จำนวน 112 นาย โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ SPSS for WINDOW ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างมีบทบาทปานกลางในด้านการจับกุม การสืบสวน การรวบรวมข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูล การส่งข้อมูล และการสะกดรอยตามในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง แต่มีบทบาทต่ำในด้านการป้องกันการก่ออาชญากรรมของมือปืนรับจ้าง 2. กลุ่มตัวอย่างที่มีความแตกต่างด้านอายุราชการ ระยะเวลาการทำงานสืบสวน การมีสายข่าว อิทธิพลภายนอก การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาและหน่วยงาน การงบประมาณ กำลังคนประสบการณ์ของผู้ร่วมงาน การอบรมเพิ่มเติม ทักษะในการใช้อาวุธ และประสบการณ์ในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง มีความแตกต่างกันในระดับของบทบาทในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการประสานงานและร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างตำรวจพื้นที่ สภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักข่าวกรองแห่งชาติ และกองปราบปราม ในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง เพราะการลอบสังหารนักการเมือง และนักธุรกิจได้ทำลายการลงทุนและโอกาสการลงทุนของชาติโดยรวม รวมทั้งความมั่นคงแห่งชาติด้วย 2. ควรจะมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทในการปราบปรามมือปืนรับจ้าง ของหน่วยราชการของกองทัพ สภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักข่าวกรองแห่งชาติ และหน่วยงานตำรวจอื่น ๆ รวมทั้งตำรวจตระเวนชายแดน
Description
Criminology and Criminal Justice (Mahidol University 2002)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology and Criminal Justice
Degree Grantor(s)
Mahidol University