Publication: การดำเนินงานตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Issued Date
2568
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
File Type
application/pdf
ISSN
2697-6285 (Online)
Journal Title
วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข
Volume
11
Issue
1
Start Page
17
End Page
31
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาชีวสถิติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาชีวสถิติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 11, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2568), 17-31
Suggested Citation
สุธาริณี จันทร, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, จุฑาธิป ศีลบุตร, Sutharinee Chanthon, Chardsumon Prutipinyo, Juthatip Sillabutra การดำเนินงานตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 11, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2568), 17-31. 31. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109399
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การดำเนินงานตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Alternative Title(s)
The Operating According to Principle of Biosafety and Biosecurity of Medical Laboratory Staff at the Hospitals under the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health
Abstract
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างคือเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการที่มีอายุงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 260 คน เครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ การทดสอบฟิชเชอร์ และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ทวิ
ผลการศึกษาพบว่าการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการภาพรวมอยู่ในระดับสูง อายุ การดำรงตำแหน่งหัวหน้าห้องปฏิบัติการ การมีวัตถุตัวอย่างที่สงสัยหรือที่ตรวจพบว่ามีเชื้อโรคไว้ในครอบครอง และการรับรู้หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของกระบวนการตรวจวินิจฉัยโรคตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558 มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การมีวัตถุตัวอย่างที่สงสัยหรือที่ตรวจพบว่ามีเชื้อโรคไว้ในครอบครองและการรับรู้ สามารถทำนายการดำเนินงานได้ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ใช้เป็นข้อมูลในการส่งเสริมให้ผู้ที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการมีการศึกษากฎหมายว่าด้วยเชื้อโรคและพิษจากสัตว์และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เป็นข้อเสนอสำหรับหน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมายให้มีการสื่อสาร เสริมสร้างความเข้าใจในกฎหมายเพื่อให้สามารถปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง อันจะส่งผลให้มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคมากยิ่งขึ้น
This research was a cross-sectional study aimed to study the operation according to the principle of Biosafety and Biosecurity of Medical Laboratory staff at the hospitals under the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. The sample comprised 260 participants of Medical Laboratory staff in Community Hospital with at least one year experience in the Medical Laboratory. The data was collected through self-administered questionnaires developed by the researcher. Data was analyzed using descriptive statistics, Chi-Square, Fisher Exact test and Binary Logistic Regression. The study showed that the medical laboratory staff had a high level of operation. Age, job title, the possession of samples suspected or infected by pathogens, awareness of criteria procedures and conditions for medical diagnosis process in accordance with Section 27 of the Pathogens and Animal Toxins Act, B.E. 2558 (2015), were significantly related to the operation. The chosen level of statistical significance was set at 0.05 level. And the possession of samples suspected or infected by pathogens, awareness of criteria, procedures, and conditions for medical diagnosis process influences the operation according to the principle of Biosafety and Biosecurity. The study findings suggest that a person who works with pathogens should study and strictly follow the law. Hospital administrators must control or supervise subordinates to carry out legal procedures correctly. Law enforcement agencies have improved the process of communicating, disseminating, providing knowledge and guidelines for complying with the law effectively.
This research was a cross-sectional study aimed to study the operation according to the principle of Biosafety and Biosecurity of Medical Laboratory staff at the hospitals under the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. The sample comprised 260 participants of Medical Laboratory staff in Community Hospital with at least one year experience in the Medical Laboratory. The data was collected through self-administered questionnaires developed by the researcher. Data was analyzed using descriptive statistics, Chi-Square, Fisher Exact test and Binary Logistic Regression. The study showed that the medical laboratory staff had a high level of operation. Age, job title, the possession of samples suspected or infected by pathogens, awareness of criteria procedures and conditions for medical diagnosis process in accordance with Section 27 of the Pathogens and Animal Toxins Act, B.E. 2558 (2015), were significantly related to the operation. The chosen level of statistical significance was set at 0.05 level. And the possession of samples suspected or infected by pathogens, awareness of criteria, procedures, and conditions for medical diagnosis process influences the operation according to the principle of Biosafety and Biosecurity. The study findings suggest that a person who works with pathogens should study and strictly follow the law. Hospital administrators must control or supervise subordinates to carry out legal procedures correctly. Law enforcement agencies have improved the process of communicating, disseminating, providing knowledge and guidelines for complying with the law effectively.
Keyword(s)
Biosafety and Biosecurity
Medical laboratory staff
hospitals under the Office of the Permanent Secretary
Ministry of Public Health
Medical diagnosis processes
Pathogens and Animal Toxin Act
B.E. 2558 (2015)
ความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
กระบวนการตรวจวินิจฉัยโรค
ระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558
Medical laboratory staff
hospitals under the Office of the Permanent Secretary
Ministry of Public Health
Medical diagnosis processes
Pathogens and Animal Toxin Act
B.E. 2558 (2015)
ความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
กระบวนการตรวจวินิจฉัยโรค
ระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558