Publication: Determinants of cervical cancer screening among migrants in the Northern district of Yangon, Myanmar
Issued Date
2015
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.13, No.2 (2015), 17-31
Suggested Citation
Chaw Su Nandar, Jiraporn Chompikul, Orapin Laosee Determinants of cervical cancer screening among migrants in the Northern district of Yangon, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol.13, No.2 (2015), 17-31. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1573
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Determinants of cervical cancer screening among migrants in the Northern district of Yangon, Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของผู้อพยพในอำเภอทางเหนือของย่างกุ้งประเทศพม่า
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional study was designed to identify factors affecting cervical cancer screening of migrant
women aged 30-49 years in the Northern district of Yangon. Multi-stage cluster sampling was used to ran- domly select 666 respondents. They were face to face interviewed by six trained interviewers after obtaining
informed consent during April and May 2015. Chi–square tests and multiple logistic regression were used
to examine associations between independent variables and cervical cancer screening.
The prevalence of cervical cancer screening among migrants in the previous 3 year was 19.1%. Cervical
cancer screening was found to be significantly associated with marital status, family history of cervical
cancer, knowledge, affordability for extra pay to get screening, providers’ rapid response, waiting time,
sources of information and encouraging support, and perception regarding perceived threats, benefits,
barriers and cues to actions. After adjusting for age, family history of cervical cancer, and other factors
in the model, perceived barriers (Adj OR = 2.42, 95% CI = 1. 45-4.04) and knowledge levels (Adj OR =
2.21, 95% CI = 1.40-3.47) remained significant predictors of cervical cancer screening uptake. Migrants with
positive perceived barriers for cervical cancer screening were 2.42 times more likely to uptake screening
than those with negative perception. Migrants with good knowledge about cervical cancer screening were
2.21 times more likely to have cervical cancer screening than those with poor knowledge.
The findings of this study suggested that free of charge for VIA testing should be promoted for the
whole country. Health education programs should be provided to migrants to increase knowledge and
positive perception about cervical cancer screening services which will lead to a greater uptake in screening.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพื่อสำรวจปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของ ผู้อพยพหญิงอายุ 30-49 ปีในอำเภอทางเหนือของย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหลายขั้นตอนในการสุ่มเลือกผู้อพยพหญิง จำนวน 666 คน เก็บ ข้อมูล ด้วยวิธี การสัมภาษณ์แบบมีเค้าโครงเมื่อได้รับความยินยอมจาก กลุ่ม ตัวอย่างแล้ว โดยผู้สัมภาษณ์ที่ได้รับการอบรมจำนวน 6 คน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล ช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พ.ศ.2558 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติคเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 19.1 ของผู้อพยพหญิง เคยไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เมี่อ 3 ปีที่ผ่านมา การทดสอบด้วยไคกำลังสองพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของผู้อพยพหญิงอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ได้แก่ สถานภาพสมรส ประวัติครอบครัวเกี่ยวกับการเป็นมะเร็งปากมดลูก ความรู้ ความสามารถในการจ่ายเงินเพิ่มเพื่อรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การบริการที่รวดเร็ว ระยะเวลารอคอย แหล่งที่ให้ข้อมูลและกำลังใจเกี่ยวกับการ ไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคและความรุนแรงของโรค การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค การรับรู้ต่ออุปสรรค สิ่งชักนำให้ไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการถดถอยลอจิสติกพหุคูณพบว่าปัจจัยที่ยังคงมีความสัมพันธ์กับการไปคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้อพยพหญิงได้แก่ การรับรู้ต่ออุปสรรค (Adj OR = 2.42, 95% CI = 1.45-4.04) และความรู้ (Adj OR = 2.21, 95% CI = 1.40- 3.47) ทั้งนี้ได้ปรับอิทธิพลของอายุ ประวัติครอบครัวเกี่ยวกับการเป็นมะเร็งปากมดลูก และปัจจัยอื่นๆที่อยู่ในตัวแบบผู้อพยพหญิงที่มีการรับรู้เชิงบวกต่ออุปสรรคในการไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้ม 2.42 เท่าที่จะรับการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกเมื่อเปรียบเทียบกับผู้อพยพหญิงที่มีการรับรู้เชิงลบ ผู้อพยพหญิงที่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้ม 2.21 เท่า ทจี่ ะรบั การคดั กรองมะเรง็ ปากมดลกู เมื่อเปรียบเทียบกับ ผู้อพยพหญิงที่มีความรู้น้อยข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยนี้ ควรส่งเสริมให้ตรวจฟรีด้วย VIA test ทั่วประเทศ ควรจัดโปรแกรมสุขศึกษาให้ผู้อพยพหญิงเพื่อให้มีความรู้เพิ่มและเสริมสร้างการรับรู้เชิงบวกเพื่อให้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพื่อสำรวจปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของ ผู้อพยพหญิงอายุ 30-49 ปีในอำเภอทางเหนือของย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหลายขั้นตอนในการสุ่มเลือกผู้อพยพหญิง จำนวน 666 คน เก็บ ข้อมูล ด้วยวิธี การสัมภาษณ์แบบมีเค้าโครงเมื่อได้รับความยินยอมจาก กลุ่ม ตัวอย่างแล้ว โดยผู้สัมภาษณ์ที่ได้รับการอบรมจำนวน 6 คน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล ช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พ.ศ.2558 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติคเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ผลการศึกษาพบว่าร้อยละ 19.1 ของผู้อพยพหญิง เคยไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เมี่อ 3 ปีที่ผ่านมา การทดสอบด้วยไคกำลังสองพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของผู้อพยพหญิงอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ได้แก่ สถานภาพสมรส ประวัติครอบครัวเกี่ยวกับการเป็นมะเร็งปากมดลูก ความรู้ ความสามารถในการจ่ายเงินเพิ่มเพื่อรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การบริการที่รวดเร็ว ระยะเวลารอคอย แหล่งที่ให้ข้อมูลและกำลังใจเกี่ยวกับการ ไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคและความรุนแรงของโรค การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค การรับรู้ต่ออุปสรรค สิ่งชักนำให้ไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการถดถอยลอจิสติกพหุคูณพบว่าปัจจัยที่ยังคงมีความสัมพันธ์กับการไปคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้อพยพหญิงได้แก่ การรับรู้ต่ออุปสรรค (Adj OR = 2.42, 95% CI = 1.45-4.04) และความรู้ (Adj OR = 2.21, 95% CI = 1.40- 3.47) ทั้งนี้ได้ปรับอิทธิพลของอายุ ประวัติครอบครัวเกี่ยวกับการเป็นมะเร็งปากมดลูก และปัจจัยอื่นๆที่อยู่ในตัวแบบผู้อพยพหญิงที่มีการรับรู้เชิงบวกต่ออุปสรรคในการไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้ม 2.42 เท่าที่จะรับการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกเมื่อเปรียบเทียบกับผู้อพยพหญิงที่มีการรับรู้เชิงลบ ผู้อพยพหญิงที่มีความรู้เกี่ยวกับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้ม 2.21 เท่า ทจี่ ะรบั การคดั กรองมะเรง็ ปากมดลกู เมื่อเปรียบเทียบกับ ผู้อพยพหญิงที่มีความรู้น้อยข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยนี้ ควรส่งเสริมให้ตรวจฟรีด้วย VIA test ทั่วประเทศ ควรจัดโปรแกรมสุขศึกษาให้ผู้อพยพหญิงเพื่อให้มีความรู้เพิ่มและเสริมสร้างการรับรู้เชิงบวกเพื่อให้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น