Publication: Relationship between obesity and asthma among older adults in Thailand
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 15, No.1 (Jan - Apr 2017), 19-32
Suggested Citation
Patthanunt Yosaravuthvarakul, Jiraporn Chompikul, Aroonsri Mongkolchati, Khongdej Leethochawalit Relationship between obesity and asthma among older adults in Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol. 15, No.1 (Jan - Apr 2017), 19-32. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2008
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Relationship between obesity and asthma among older adults in Thailand
Other Contributor(s)
Abstract
This cross-sectional study was conducted to determine the prevalence of asthma and to describe the
association between asthma and obesity among older adults in the communities of Thailand. The multi-stage
cluster sampling was used to draw a sample of 3977 adults aged 50 years and older from six regions. The
data collection was conducted between January and March, 2016. A face to face interview with the structured
questionnaire was used to collect data. Chi-square test and multiple logistic regression were used to examine
associations between independent variables and asthma.
The results showed that the prevalence of asthma among older adults in the communities of Thailand
was 2.1%. The association between obesity and asthma among this population was not significantly detected
in this study. However, asthma was found to be significantly associated with types of residence (Adj.
OR=2.01, 95% CI=1.06-3.83), ischemic heart disease (Adj. OR=4.31, 95% CI=1.63-11.42) and low back
pain (Adj. OR=4.38, 95% CI=2.50-7.68) among older adults after adjusting for other factors.
The health personnel should initiate a system for searching asthmatic patients in the community,
especially in the ischemic heart disease or low back pain patients. The relationship between obesity and
asthma among older adults in Thailand is not clear and still needs further studies.
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบตัดขวางเพื่อศึกษาความชุกของโรคหืด และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรค อ้วนและโรคหืดในผู้ใหญ่สูงอายุในชุมชนของประเทศไทย โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหลายขั้นตอน ตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้สูงวัยอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปจำนวน 3977 คน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคม พ.ศ. 2559 โดยวิธีสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบไคสแควร์และการวิเคราะห์ถดถอยแบบ ลอจิสติคพหุคูณเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและโรคหืด ผลการศึกษาพบว่าความชุก ของโรคหืด ในผ้สูงอายุในชุมชนของประเทศไทยเป็นร้อยละ 2.1 ไม่พบความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างโรคอ้วนและโรคหืดในการศึกษานี้ อย่างไรก็ตามพบว่าโรคหืดมีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับชนิดของที่อยู่อาศัย (Adj. OR=2.01, 95% CI=1.06-3.83), โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาด เลือด (Adj. OR=4.31, 95% CI=1.63-11.42) และอาการปวดหลังส่วนล่าง (Adj. OR=4.38, 95% CI=2.50-7.68) ในผู้ใหญ่สูงอายุหลังจากการปรับด้วยอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆแล้ว บุคลากรทางด้านสาธารณสขุ ควรรเริ่มจัดระบบค้นหาผู้ป่วยโรคหืดในชุมชนโดยเฉพาะในกลุ่มที่เป็นโรคกล้าม เนื้อหัวใจขาดเลือดหรือผู้มีอาการปวดหลังส่วนล่าง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคอ้วนและโรคหืด ในผู้สูงวัย อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปในประเทศไทย ยังไม่มีผลสรุปที่ชัดเจนและต้องการการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบตัดขวางเพื่อศึกษาความชุกของโรคหืด และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรค อ้วนและโรคหืดในผู้ใหญ่สูงอายุในชุมชนของประเทศไทย โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหลายขั้นตอน ตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้สูงวัยอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปจำนวน 3977 คน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคม พ.ศ. 2559 โดยวิธีสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบไคสแควร์และการวิเคราะห์ถดถอยแบบ ลอจิสติคพหุคูณเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและโรคหืด ผลการศึกษาพบว่าความชุก ของโรคหืด ในผ้สูงอายุในชุมชนของประเทศไทยเป็นร้อยละ 2.1 ไม่พบความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างโรคอ้วนและโรคหืดในการศึกษานี้ อย่างไรก็ตามพบว่าโรคหืดมีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับชนิดของที่อยู่อาศัย (Adj. OR=2.01, 95% CI=1.06-3.83), โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาด เลือด (Adj. OR=4.31, 95% CI=1.63-11.42) และอาการปวดหลังส่วนล่าง (Adj. OR=4.38, 95% CI=2.50-7.68) ในผู้ใหญ่สูงอายุหลังจากการปรับด้วยอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆแล้ว บุคลากรทางด้านสาธารณสขุ ควรรเริ่มจัดระบบค้นหาผู้ป่วยโรคหืดในชุมชนโดยเฉพาะในกลุ่มที่เป็นโรคกล้าม เนื้อหัวใจขาดเลือดหรือผู้มีอาการปวดหลังส่วนล่าง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคอ้วนและโรคหืด ในผู้สูงวัย อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไปในประเทศไทย ยังไม่มีผลสรุปที่ชัดเจนและต้องการการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป