Publication: การพัฒนาโปรแกรมเชื่อมโยงโปรแกรมสำเร็จรูปในการคัดกรองความผิดปกติของสายตาของเด็กไทยก่อนวัยเรียน
Issued Date
2552
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
2707446 bytes
Rights
Mahidol University
Bibliographic Citation
วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 1 (2552), 74-88
Suggested Citation
อารีย์ อมรศักดิ์ชัย, สุมาลี สิงหนิยม, วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัย การพัฒนาโปรแกรมเชื่อมโยงโปรแกรมสำเร็จรูปในการคัดกรองความผิดปกติของสายตาของเด็กไทยก่อนวัยเรียน. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 1 (2552), 74-88. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2329
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การพัฒนาโปรแกรมเชื่อมโยงโปรแกรมสำเร็จรูปในการคัดกรองความผิดปกติของสายตาของเด็กไทยก่อนวัยเรียน
Alternative Title(s)
Modification a commercial eye care screening software for Thai preschool children a pilot study
Abstract
โปรแกรมสำหรับคัดกรองความผิดปกติของสายตาในเด็กในต่างประเทศมีหลากหลาย การใช้งานโดยตรงทำให้เกิดปัญหาเนื่องจากมีระดับความเข้าใจในภาษาที่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้พัฒนาโปรแกรมเชื่อมโยงเพื่อให้สามารถรับการบันทึกข้อมูลเป็นภาษาไทยเข้ากับโปรแกรมสำเร็จรูป โดยปรับเปลี่ยนการแสดงผลเป็นภาษาไทย พร้อมเพิ่มเติมส่วนการจัดเก็บข้อมูล การแสดงผลข้อมูลทางสุขภาพและสายตาของเด็ก รวมถึงการจัดทำคู่มือการใช้โปรแกรมฉบับภาษาไทยขึ้นจากนั้นนำโปรแกรมที่พัฒนาไปทดลองใช้ในเด็กไทยระดับชั้นอนุบาล อายุ 5-7 ปี จำนวน 121 คน โดยชุดโปรแกรมที่พัฒนาเพื่อเชื่อมโยงกับโปรแกรมสำเร็จรูปสามารถออกรายงานเป็นภาษาไทยได้ และแสดงจำนวนนักเรียนที่มีสายตาปกติ 86 คน ผิดปกติ 35 คน ในกลุ่มที่มีความผิดปกติ เมือได้รับการตรวจละเอียดด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านสายตา พบความผิดปกติของสายตา 14 คน และผลการเปรียบเทียบวิธีการตรวจด้วยชุดโปรแกรมเชื่อมโยงกับวิธีการตรวจตามมาตรฐาน พบว่ามีค่า Sensitivity = 74.07% และค่า Specificity = 84.04% ในด้านการใช้โปรแกรม ผู้ใช้มีระดับความพึงพอใจมากต่อการใช้ชุดโปรแกรมเชื่อมโยง (X = 4.00, SD = 0.292) และมีความพึงพอใจมากที่สุดต่อระบบช่วยในการจัดทำรายงานเสนอต่อผู้ป่วย ผู้บริหาร (X = 4.50, SD = 0.548) อย่างไรก็ตาม เมื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดโปรแกรมเชื่อมโยงพบว่าค่า Specificity ต่อเด็กไทยต่ำกว่าค่าที่อ้างอิงสำหรับเด็กในต่างประเทศ ทั้งนี้นอกจากรูปแบบที่ใช้ในการคัดกรองไม่เหมาะสมต่อเด็กไทย ซึ่งควรจะต้องพัฒนาให้เหมาะสมต่อไป
Several computer-based visual screening programs have been used successfully with children of the western countries. However, they do not seem practical for Thai children due to a difference in culture and language. To implement the visual screening for Thai children. A new eye-care recording program has been developed for interfacing with commercially-developed visual screening software. This combined programme had been tested on 121 preschool children, aged 5-7 years of the Bangkok under the supervision of trained personnel. 35 children not passed this visual screening test. 14 of them were diagnosed as visually deficient by an optometrist -7 with Amblyopia, 4 with Hyperopia & Astigmatism and the other 3 with Astigmatism, Myopia and Latent hyperopia. The sensitivity and specificity of this new Program were 74.7% and 84.4% respectively. Regarding the use of the Program, the user satisfaction was at a high level. The result obtained from this study demonstrated that the Program was reliable, but not sufficient enough for Thai children, indicated the need for a new program specifically designed for them.
Several computer-based visual screening programs have been used successfully with children of the western countries. However, they do not seem practical for Thai children due to a difference in culture and language. To implement the visual screening for Thai children. A new eye-care recording program has been developed for interfacing with commercially-developed visual screening software. This combined programme had been tested on 121 preschool children, aged 5-7 years of the Bangkok under the supervision of trained personnel. 35 children not passed this visual screening test. 14 of them were diagnosed as visually deficient by an optometrist -7 with Amblyopia, 4 with Hyperopia & Astigmatism and the other 3 with Astigmatism, Myopia and Latent hyperopia. The sensitivity and specificity of this new Program were 74.7% and 84.4% respectively. Regarding the use of the Program, the user satisfaction was at a high level. The result obtained from this study demonstrated that the Program was reliable, but not sufficient enough for Thai children, indicated the need for a new program specifically designed for them.