Publication: Relationships between Lung Function, Dyspnea Experience, Social Support, and Quality of Life in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease
Issued Date
2017
Resource Type
Language
tha
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 31-37
Suggested Citation
Le Thi Trang, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, Wimolrat Puwanawuttipanit, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Wallada Chanruangvanich Relationships between Lung Function, Dyspnea Experience, Social Support, and Quality of Life in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease. Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 31-37. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44148
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Relationships between Lung Function, Dyspnea Experience, Social Support, and Quality of Life in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำงานของปอด ประสบการณ์การหายใจลำบาก การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
Abstract
Purpose: To identify the relationships between lung function (FEV1), dyspnea experience, social support, and quality of life (QOL) in patients with chronic obstructive pulmonary disease (COPD).
Design: Descriptive correlational design.
Methods: The sample composed of 115 participants including males and females aged 18 years and older with COPD who were treated at Thanh Hoa General Hospital in Thanh Hoa City, Vietnam. Data were collected using the patients’ hospital records, lung function test, and 3 questionnaires: 1) the dyspnea-12 scale, 2) the Multidimensional Scale of Perceived Social Support (MSPSS), 3) the Clinical COPD Questionnaire (CCQ) to measure QOL. Descriptive statistics and Spearman’s Rho Correlation were used to analyze the data.
Main findings: The findings revealed that dyspnea experience was negatively related to QOL (rs = - .587, p < .05), lung function (FEV1) was positively related to QOL (rs = .336, p < .05), while the social support was not correlated with QOL (p > .05).
Conclusion and recommendations: The researcher recommended that nurses should promote QOL of COPD patients by developing an intervention program to prevent dyspnea and increase lung function.
วัตถุประสงค์: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำงานของปอด ประสบการณ์การหายใจลำบาก การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 115 คน ทั้งเพศชายและเพศหญิงอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และมารับการรักษาที่โรงพยาบาล Thanh Hoa ในเมือง Thanh Hoa ประเทศเวียดนาม เก็บรวบรวมข้อมูลทั่วไปจากแฟ้มประวัติโรงพยาบาล การประเมินค่า FEV1 และแบบสอบถาม จำนวน 3 ชุด 1) แบบสอบถามการหายใจลำบาก (Dyspnea-12 scale) 2) แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) และ 3) แบบสอบถาม Clinical COPD Questionnaire (CCQ) ประเมินคุณภาพชีวิต ผลการศึกษา: ประสบการณ์การหายใจลำบากมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต (rs = - .587, p < .05) ความสามารถในการทำงานของปอดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต (rs = .336, p < .05) ทั้งนี้การสนับสนุนทางสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต (p > .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยพบว่า ประสบการณ์การหายใจลำบากมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต ขณะที่ความสามารถในการทำงานของปอดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต ดังนั้นพยาบาลควรส่งเสริม คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยการพัฒนาโปรแกรมป้องกันภาวะหายใจลำบากและส่งเสริมความ สามารถในการทำงานของปอด
วัตถุประสงค์: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำงานของปอด ประสบการณ์การหายใจลำบาก การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 115 คน ทั้งเพศชายและเพศหญิงอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และมารับการรักษาที่โรงพยาบาล Thanh Hoa ในเมือง Thanh Hoa ประเทศเวียดนาม เก็บรวบรวมข้อมูลทั่วไปจากแฟ้มประวัติโรงพยาบาล การประเมินค่า FEV1 และแบบสอบถาม จำนวน 3 ชุด 1) แบบสอบถามการหายใจลำบาก (Dyspnea-12 scale) 2) แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม (MSPSS) และ 3) แบบสอบถาม Clinical COPD Questionnaire (CCQ) ประเมินคุณภาพชีวิต ผลการศึกษา: ประสบการณ์การหายใจลำบากมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต (rs = - .587, p < .05) ความสามารถในการทำงานของปอดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต (rs = .336, p < .05) ทั้งนี้การสนับสนุนทางสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต (p > .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยพบว่า ประสบการณ์การหายใจลำบากมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต ขณะที่ความสามารถในการทำงานของปอดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต ดังนั้นพยาบาลควรส่งเสริม คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยการพัฒนาโปรแกรมป้องกันภาวะหายใจลำบากและส่งเสริมความ สามารถในการทำงานของปอด