การวิเคราะห์การจัดซื้อหนังสือ และการใช้หนังสือของห้องศึกษาด้วยตนเอง คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2553-2559
Issued Date
2563
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
พลอยชนกภรณ์ เพิ่มแสงสุวรรณ (2563). การวิเคราะห์การจัดซื้อหนังสือ และการใช้หนังสือของห้องศึกษาด้วยตนเอง คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2553-2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63280
Title
การวิเคราะห์การจัดซื้อหนังสือ และการใช้หนังสือของห้องศึกษาด้วยตนเอง คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ปีงบประมาณ 2553-2559
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ 1) เพื่อศึกษาหนังสือที่จัดซื้อของห้องศึกษาด้วยตนเอง คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ด้านปริมาณการจัดซื้อ งบประมาณ การใช้ และความคุ้มทุนการใช้หนังสือที่จัดซื้อ และ 2) ประเมินค่าการใช้หนังสือที่จัดซื้อของห้องศึกษาด้วยตนเอง คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ระหว่างปีงบประมาณ 2553-2559 หนังสือที่จัดซื้อจัดกลุ่มหมวดวิชาแยกตามสาขาที่คณะฯ เปิดสอน จัดแยกได้เป็น 6 หมวดวิชา คือ 1.หมวดวิชากายภาพบำบัด 2.หมวดวิชากิจกรรมบำบัด 3.หมวดวิชาระบบหายใจ และหัวใจหลอดเลือด 4.หมวดวิชาทางเด็ก 5.หมวดวิชาพื้นฐาน 6.หมวดวิชาที่เกี่ยวข้อง จัดแบ่งกลุ่มโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นคณะกรรมการฝ่ายการศึกษา คณะกายภาพบำบัดประจำปี 2554-2558
ผลการวิเคราะห์ ด้านปริมาณการจัดซื้อหนังสือ มีจำนวนหนังสือรวม 397 เล่ม ใช้งบประมาณในการจัดซื้อทั้งหมด 727,326.96 บาท ระหว่างปีงบประมาณ 2553–2559 หนังสือที่จัดซื้อส่วนใหญ่เป็นหนังสือภาษาอังกฤษ จำนวน 333 เล่ม ใช้งบประมาณในการจัดซื้อร้อยละ 83.88 หนังสือที่ใช้งบประมาณในการจัดซื้อมากที่สุด คือ หนังสือหมวดวิชาพื้นฐาน มีการจัดซื้อร้อยละ 68.85 หนังสือที่ใช้งบประมาณในการจัดซื้อน้อยที่สุดคือ หนังสือหมวดวิชาที่เกี่ยวข้อง ใช้งบประมาณร้อยละ 3.53 หนังสือที่ซื้อสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้และมีจุดคุ้มทุนในการใช้งานโดยเฉลี่ยคือ 19.16 ครั้งต่อเล่ม ได้แก่ 1) หนังสือในหมวดวิชากิจกรรมบำบัด มีค่าเฉลี่ยการใช้ต่อเล่ม 23.47 ครั้ง 2) หมวดวิชาพื้นฐาน มีค่าเฉลี่ยการใช้ต่อเล่ม 19.83 ครั้งต่อเล่ม หนังสือ ที่มีการจัดซื้อไม่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ มีการใช้น้อยกว่าการจัดซื้อ คือมีค่าการใช้หนังสือน้อยกว่า 1 มีการใช้ที่น้อยกว่าจุดคุ้มทุน ได้แก่ 1) หมวดวิชากายภาพบำบัด 2) หมวดวิชาระบบหายใจ และหัวใจหลอดเลือด 3) หมวดวิชาทางเด็ก 4) หมวดวิชาที่เกี่ยวข้อง ความคุ้มค่าของงบประมาณเฉลี่ยที่จัดซื้อหนังสือระหว่างปีงบประมาณ 2553-2559 อยู่ที่ 1,617.80 บาท ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหัวนักศึกษา 207.64 บาท พบว่ามีหนังสือจำนวน 11 เล่ม ที่ไม่มีสถิติการใช้ คิดเป็นจำนวนเงิน 25,767.80 บาท ประกอบด้วย 1) กลุ่มหมวดวิชาระบบหายใจ และหัวใจหลอดเลือด ใช้งบประมาณการจัดซื้อ 6,999.75 บาท 2) หมวดวิชาพื้นฐาน ใช้งบประมาณการจัดซื้อ 18,430.05 บาท 3) หมวดวิชาที่เกี่ยวข้อง ใช้งบประมาณการจัดซื้อ 338 บาท
การใช้และจัดซื้อหนังสือของห้องศึกษาด้วยตนเอง คณะกายภาพบำบัด มีความสัมพันธ์ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ หนังสือที่มีการจัดซื้อมากที่สุดจะมีการใช้มากที่สุด (กลุ่มหมวดวิชาพื้นฐาน) และหนังสือที่มีการจัดซื้อน้อยที่สุดจะมีการใช้น้อยที่สุด (กลุ่มหมวดวิชาที่เกี่ยวข้อง)
The aim of this study was to analyze 1) the purchasing books and usability of the self-study room in terms of the qualitative, average, value, cost-effectiveness, and 2) evaluating the relationship between purchasing books and usability of library users in the Faculty of Physical Therapy, Mahidol University from 2010 to 2016. Purchased books can be categorized into 6 subject areas categorized according to the branch of the faculty; consists of 1) physical therapy, 2) occupational therapy, 3) cardiopulmonary and cardiovascular systems, 4) pediatrics, basic subject, and 6) other related subjects. They were categorized Organized into groups by experts who are the education committee of the Faculty of Physical Therapy during, 2011-2015. The analysis showed that the number of purchased books was 397 by spending 727,326.96 baths from 2010 to 2016. Most of the purchased books were English books 333, using 83.88% of the whole budget. The most purchasing costs were the basic subjects that spend 68.85 % of the total budget. The less purchasing costs were in the other related subject books that spend 3.53 % of the total budget. Books that purchased could be met the needs of users; used more than 1 times and has the break-even point of average usability is 19.16 times per book were 1) the books of occupational therapy branch (average usability 23.47 times per book), and 2) the books of basic subjects (average usability 19.83 times per book). Books that purchased could not be met the needs of users; used lower than 1 time and has average usability lower than the break-even point. They consist of 1) books of physical therapy 2) books of cardiopulmonary and cardiovascular systems 3) books of pediatrics and 4) other related subjects. The average value of purchasing books from 2010 to 2016 is 1,617.80 baths. The average cost per person is 207.64 baths. Eleven books of the total do not have used record statistics that spend 25,767.80 baths. They consisted of 1) books cardiopulmonary and cardiovascular systems (6,999.75 baths), 2) books of the basic subjects (18,430.05 baths), and 3) books of the other related subjects (388 baths). Usability and purchasing of books of the self-study room of the Faculty of Physical Therapy have a relationship in the same direction is that the books that have the most purchase are the most used (basic subject books) and the least purchased books are the least used (other related subject books)
The aim of this study was to analyze 1) the purchasing books and usability of the self-study room in terms of the qualitative, average, value, cost-effectiveness, and 2) evaluating the relationship between purchasing books and usability of library users in the Faculty of Physical Therapy, Mahidol University from 2010 to 2016. Purchased books can be categorized into 6 subject areas categorized according to the branch of the faculty; consists of 1) physical therapy, 2) occupational therapy, 3) cardiopulmonary and cardiovascular systems, 4) pediatrics, basic subject, and 6) other related subjects. They were categorized Organized into groups by experts who are the education committee of the Faculty of Physical Therapy during, 2011-2015. The analysis showed that the number of purchased books was 397 by spending 727,326.96 baths from 2010 to 2016. Most of the purchased books were English books 333, using 83.88% of the whole budget. The most purchasing costs were the basic subjects that spend 68.85 % of the total budget. The less purchasing costs were in the other related subject books that spend 3.53 % of the total budget. Books that purchased could be met the needs of users; used more than 1 times and has the break-even point of average usability is 19.16 times per book were 1) the books of occupational therapy branch (average usability 23.47 times per book), and 2) the books of basic subjects (average usability 19.83 times per book). Books that purchased could not be met the needs of users; used lower than 1 time and has average usability lower than the break-even point. They consist of 1) books of physical therapy 2) books of cardiopulmonary and cardiovascular systems 3) books of pediatrics and 4) other related subjects. The average value of purchasing books from 2010 to 2016 is 1,617.80 baths. The average cost per person is 207.64 baths. Eleven books of the total do not have used record statistics that spend 25,767.80 baths. They consisted of 1) books cardiopulmonary and cardiovascular systems (6,999.75 baths), 2) books of the basic subjects (18,430.05 baths), and 3) books of the other related subjects (388 baths). Usability and purchasing of books of the self-study room of the Faculty of Physical Therapy have a relationship in the same direction is that the books that have the most purchase are the most used (basic subject books) and the least purchased books are the least used (other related subject books)
Description
70 หน้า, Full Text (Intranet only)