Publication: รูปแบบและแนวทางการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร
Issued Date
2561
Resource Type
Language
tha
ISSN
1513-8429
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สาขาอาชญาวิทยา การบริหารงานยุติธรรมและสังคม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 167-192
Suggested Citation
สุณีย์ กัลยะจิตร, อนุสรณ์ พยัคฆาคม, มนตรี ยิ้มแย้ม รูปแบบและแนวทางการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 167-192. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72025
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
รูปแบบและแนวทางการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Patterns and approaches to prevent quarrel of vocational school student in Bangkok
Author(s)
Abstract
การศึกษาในครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การก่อเหตุทะเลาะวิวาท รวมถึงศึกษาขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงาน และปัญหาอุปสรรคของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาท จากนั้นจะเป็นการศึกษาเพื่อเสนอแนะรูปแบบและแนวทางการป้องกันและเป็นการสร้างคู่มือการจัดการความรู้ในการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการก่อเหตุทะเลาะวิวาทมีสาเหตุมาจากการรับค่านิยมที่ไม่ดีมาจากรุ่นพี่ การหาอาวุธในการทะเลาะวิวาทหาได้ง่ายขึ้นส่งผลให้พฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษามีความรุนแรงมากขึ้น ในส่วนของขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงานและปัญหาอุปสรรคของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องนั้นจะต้องมีการทำงานร่วมกันเป็นภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็ง แต่ปัญหาอุปสรรคคือการปฏิบัติงานร่วมกันของเครือข่ายมีจำนวนผู้ปฏิบัติงานลดลง การติดต่อประสานงาน การสานต่อนโยบายการป้องกันแก้ไขการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของทุกภาคส่วนยังมีความไม่สอดคล้องและไม่นื่อง จากนั้นจะเป็นการจัดทำคู่มือการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษา โดยรวบรวมข้อมูลแนวทางในการป้องกัน ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษา พร้อมทั้งการสำรวจรายชื่อของหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องอีกทั้งจะมีการปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
This qualitative research aimed to explore the current cause of quarrel among the vocational students in Bangkok, including the study of practical procedures and problems occurred while the third parties attempting to halt the quarrel. The outcomes of the study was planned as proposal for preventive patterns and approaches as well as being the guidelines for students quarrel preventive manual. The research findings suggest that the quarrel often caused by students adopting poor social values from their seniors. Students’ easily accessing illegal weapons had recently caused the students quarrel to increase its intensity. Regarding the practical procedures and problems of the third parties, problems and obstacles could be eliminated through strong network collaboration. Nonetheless, problems are still persisting as seen in the reduction in number of responsible parties, the inconsistency of coordination, and the lack of continuity in quarrel preventive policies among all state sectors involved. Therefore, the findings from this study should serve as the direction for students’ brawl preventive manual and guideline to avoid problems and obstacles at the cause. Meantime, the survey must be conducted to gather and update the list of names and agencies involved in such matter.
This qualitative research aimed to explore the current cause of quarrel among the vocational students in Bangkok, including the study of practical procedures and problems occurred while the third parties attempting to halt the quarrel. The outcomes of the study was planned as proposal for preventive patterns and approaches as well as being the guidelines for students quarrel preventive manual. The research findings suggest that the quarrel often caused by students adopting poor social values from their seniors. Students’ easily accessing illegal weapons had recently caused the students quarrel to increase its intensity. Regarding the practical procedures and problems of the third parties, problems and obstacles could be eliminated through strong network collaboration. Nonetheless, problems are still persisting as seen in the reduction in number of responsible parties, the inconsistency of coordination, and the lack of continuity in quarrel preventive policies among all state sectors involved. Therefore, the findings from this study should serve as the direction for students’ brawl preventive manual and guideline to avoid problems and obstacles at the cause. Meantime, the survey must be conducted to gather and update the list of names and agencies involved in such matter.