Publication: การรับรู้เครื่องหมายบนฉลากอาหารและการใช้ข้อมูลบนฉลากอาหารในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารของผู้ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดี
Issued Date
2555
Resource Type
Language
tha
ISSN
2697-584X (Print)
2697-5866 (Online)
2697-5866 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงพยาบาลรามาธิบดี
ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 42, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2555), 17-28
Suggested Citation
ณัฐพิมณฑ์ ภิรมย์เมือง, เรวดี จงสุวัฒน์, ดวงใจ มาลัย, Nuttapimon Bhirommuang, Rawadee Chongsuwat, Duangjai Malai การรับรู้เครื่องหมายบนฉลากอาหารและการใช้ข้อมูลบนฉลากอาหารในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารของผู้ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดี. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 42, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2555), 17-28. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72175
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การรับรู้เครื่องหมายบนฉลากอาหารและการใช้ข้อมูลบนฉลากอาหารในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารของผู้ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดี
Alternative Title(s)
Perception of Symbols and Use of Information on Food Labels for Food Choice Behavior among Clients of the Out-patient Department of Ramathibodi Hospital
Other Contributor(s)
Abstract
เครื่องหมายและข้อมูลบนฉลากอาหารเป็น เครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ อาหารของผู้บริโภค วัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ เพื่อสำรวจการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องหมาย และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลบนฉลากอาหารและ ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารของผู้บริโภคอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 166 คน ใช้สถิติเพียร์สันไคสแควร์ (Pearson’s Chi-square) และฟิชเชอร์ (Fisher’s Exact Test) ในการทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิเคราะห์พบว่า อาชีพและการศึกษามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p = 0.025 และ 0.036 ตามลำดับ) กับ พฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร นอกจากนั้นยังพบว่า การใช้ข้อมูลบนฉลากอาหาร ข้อมูลการกล่าวอ้างทางโภชนาการ การรับรู้และ ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องหมายบนฉลากอาหารมี ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับพฤติกรรม การตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร (p = 0.000 0.001 และ 0.000 ตามลำดับ) ความเข้าใจและการ รับรู้ในเครื่องหมายและข้อมูลบนฉลากอาหารของ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษายังอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการประชาสัมพันธ์ เครื่องหมายและข้อมูลบนฉลากอาหารเพื่อให้มีความ เข้าใจและนำไปใช้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร ต่อไป
The symbols and information on food labels are tools used to improve the decision making capabilities of the consumer which influences food choice behavior.. The objective of this research were to investigate how the perception of symbols and the use of information on food labels affect the food choice behavior of clients in the out-patient department at Ramahibodi Hospital. This survey study was conducted by interviewing 166 people, 15 years and older at Ramahibodi Hospital. Chi-square and Fisher’s exact test were used to determine the relationship between the two variables. Research show that the use of symbols and information on a food label, the health claim, the perception and understanding of the symbol, education, and occupation were significantly related to food choice behavior. (p = 0.000, 0.001, 0.000, 0.025 and 0.036, respectively). There was a low level of understanding and perception concerning the symbols and information on the food label of the subjects. Therefore, it is suggested that authorities in charge of the symbols and information should communicate better, in order to improve the understanding of the consumer.
The symbols and information on food labels are tools used to improve the decision making capabilities of the consumer which influences food choice behavior.. The objective of this research were to investigate how the perception of symbols and the use of information on food labels affect the food choice behavior of clients in the out-patient department at Ramahibodi Hospital. This survey study was conducted by interviewing 166 people, 15 years and older at Ramahibodi Hospital. Chi-square and Fisher’s exact test were used to determine the relationship between the two variables. Research show that the use of symbols and information on a food label, the health claim, the perception and understanding of the symbol, education, and occupation were significantly related to food choice behavior. (p = 0.000, 0.001, 0.000, 0.025 and 0.036, respectively). There was a low level of understanding and perception concerning the symbols and information on the food label of the subjects. Therefore, it is suggested that authorities in charge of the symbols and information should communicate better, in order to improve the understanding of the consumer.