Publication: Development of Social Communication Skills in Children With Multiple Disabilities in Nonthaphum Home: Experiences from a One-Year Therapeutic Outreach Program
Issued Date
2016
Valid Date
2022-09-21
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Communication Sciences and Disorders Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Pakkred Home for Children with Disabilities (Baan Nontapum)
Pakkred Home for Children with Disabilities (Baan Nontapum)
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 23-29
Suggested Citation
Worawan Wattanawongsawang, Patiphat Anuraktham, Supisara Sadara, Tanunorn Nitaamornsret, วรวรรณ วัฒนาวงศ์สว่าง, ปฏิพัทธ์ อนุรักษ์ธรรม, ศุภิสรา สาดะระ, ธนันอรณ์ นิตาอมรเศรษฐ์ Development of Social Communication Skills in Children With Multiple Disabilities in Nonthaphum Home: Experiences from a One-Year Therapeutic Outreach Program. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 23-29. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79594
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Development of Social Communication Skills in Children With Multiple Disabilities in Nonthaphum Home: Experiences from a One-Year Therapeutic Outreach Program
Alternative Title(s)
พัฒนาการการสื่อสารในเด็กพิการซ้ำซ้อนบ้านนนทภูมิภายหลังได้รับการฝึกพูดเป็นเวลา 1 ปี
Abstract
Background and Purpose: The purpose of this study is to investigate the development of social communication skills in 37 children with multiple disabilities. These children are residents of Pakkret Home (Nonthaphum Home) the provided services for individuals with various disabilities. They were identified as having speech and language disorders through the provision of a one-year therapeutic outreach program.
Method: Participants were 37 children residents of Pakkret Home who ranged in age from 7 to 19 years. The clinicians employed a naturalistic approach emphasizing on the non-structured protocol and interaction adjusted to the children’s interests for one year. A pre- and post- intervention was evaluated by counting the number of communication circles.
Results: Participants demonstrated a significant increase in the use of communication circles following intervention (P < 0.05).
Conclusion: All participants showed significant improvement in the communication ability as identified by the pre- and post-intervention evaluation of the numbers of communication circles. Their social and emotional developments were also improved.
ความเป็นมา: สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ดหรือบ้านนนทภูมิ เป็นหน่วยงานที่ให้การบริการสงเคราะห์ ฟื้นฟูและพัฒนาเด็กพิการ มีเด็กพิการซ้ำซ้อน จำนวน 37 คน ที่ต้องการการฝึกพูด วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาพัฒนาการการสื่อสารในเด็กพิการซ้ำซ้อน 37 คน ที่ได้รับการฝึกพูดเป็นระยะเวลา 1 ปี วิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กพิการซ้ำซ้อน จำนวน 37 คน อายุ 7-19 ปี ผู้ฝึกฝึกพูดโดยใช้แนวทางธรรมชาติที่มีปฏิสัมพันธ์กันและตามความสนใจของเด็ก กลุ่มตัวอย่างทุกคนได้รับการประเมินการสื่อสารทั้งก่อนและหลังการฝึกพูดเป็นระยะเวลา 1 ปี ประเมินการสื่อสารโดยนับวงรอบการสื่อสาร ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่าคะแนนการสื่อสารก่อนและหลังการฝึกมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P < 0.05 สรุป: เด็กพิการซ้ำซ้อนทั้งหมดมีพัฒนาการการสื่อสารที่เพิ่มขึ้น โดยดูจากคะแนนที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติก่อนและหลังการฝึกพูดเป็นระยะเวลา 1 ปี และพบว่าเด็กทั้งหมดมีพัฒนาการทางปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและอารมณ์ดีขึ้น
ความเป็นมา: สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ดหรือบ้านนนทภูมิ เป็นหน่วยงานที่ให้การบริการสงเคราะห์ ฟื้นฟูและพัฒนาเด็กพิการ มีเด็กพิการซ้ำซ้อน จำนวน 37 คน ที่ต้องการการฝึกพูด วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาพัฒนาการการสื่อสารในเด็กพิการซ้ำซ้อน 37 คน ที่ได้รับการฝึกพูดเป็นระยะเวลา 1 ปี วิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กพิการซ้ำซ้อน จำนวน 37 คน อายุ 7-19 ปี ผู้ฝึกฝึกพูดโดยใช้แนวทางธรรมชาติที่มีปฏิสัมพันธ์กันและตามความสนใจของเด็ก กลุ่มตัวอย่างทุกคนได้รับการประเมินการสื่อสารทั้งก่อนและหลังการฝึกพูดเป็นระยะเวลา 1 ปี ประเมินการสื่อสารโดยนับวงรอบการสื่อสาร ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่าคะแนนการสื่อสารก่อนและหลังการฝึกมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P < 0.05 สรุป: เด็กพิการซ้ำซ้อนทั้งหมดมีพัฒนาการการสื่อสารที่เพิ่มขึ้น โดยดูจากคะแนนที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติก่อนและหลังการฝึกพูดเป็นระยะเวลา 1 ปี และพบว่าเด็กทั้งหมดมีพัฒนาการทางปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและอารมณ์ดีขึ้น