Publication: Prevalence and Risk Factors of Depression in Thai Diabetic Patients
Issued Date
2010
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University,
Department of Psychiatry Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Psychiatry Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 33, No. 1 (Jan-Mar 2010), 10-18
Suggested Citation
Arthit Veerabenjapol, Manote Lotrakul, Chatchalit Rattarasarn, อาทิตย์ วีระเบญจพล, มาโนช หล่อตระกูล, ชัชลิต รัตรสาร Prevalence and Risk Factors of Depression in Thai Diabetic Patients. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 33, No. 1 (Jan-Mar 2010), 10-18. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79850
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Prevalence and Risk Factors of Depression in Thai Diabetic Patients
Alternative Title(s)
ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานไทย
Abstract
Objective: The goal of this study was to determine the prevalence of depression in Thai diabetic patients and to examine clinical characteristics of diabetes that are associated with depression.
Method: Diabetic patients from diabetic clinical of Ramathibodi hospital who had no know history of depression were studied. The Thai version of the Patient Health Questionnaire (PHQ-9) was used to screen for depression. Clinical characteristics and laboratory data of patients were obtained from medical records. Multivariate logistic regression was used to determine the independent risk factors depression.
Results: Three-hundred eighty-five individuals were participated. The prevalence of depression was 15.8%. By univariate analysis, risk factors that were associated with depression included education less than primary school, treatment with insulin and poor glycemic control (HbA1C gif.latex?\geq 8%). However, with multivariate logistic regression analysis, only education less than primary school and treatment with insulin were two significant risk factors associated with depression in diabetic patients.
Conclusion: The prevalence of depression among diabetic patients in diabetic clinic of Ramathibodi hospital was unexpectedly high. Education less than primary school and treatment with insulin were the independent risk factors of depression in Thai diabetic patients.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานไทยและลักษณะทางคลินิกที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางในผู้ป่วยเบาหวานที่รับการรักษาในคลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลรามาธิบดี และไม่มีประวัติหรือได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคซึมเศร้า โดยใช้แบบสอบถาม PHQ-9 ฉบับภาษาไทย (Thai version of the Patient Health Questionnaire) เป็นเครื่องมือคัดกรองภาวะซึมเศร้า เก็บข้อมูลลักษณะทางคลินิกและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการจากเวชระเบียน นำไปวิเคราะห์หาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า โดยอาศัยวิธี multivariate logistic regression ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 375 ราย พบความชุกของภาวะซึมเศร้าร้อยละ 15.8 ปัจจัยที่พบในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าบ่อยกว่าผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ระดับการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถม การรักษาด้วยอินสุลินและมีระดับ HbA1C gif.latex?\geq 8% แต่เมื่อนำปัจจัยเหล่านี้ไปวิเคราะห์โดย multivariate logistic regression พบว่า ปัจจัยอิสระที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ระดับการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถม และรักษาด้วยอินสุลิน สรุป: ผู้ป่วยเบาหวานที่รับการรักษาในคลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลรามาธิบดี มีความชุกของภาวะซึมเศร้าค่อนข้างสูง ระดับการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถมและการรักษาด้วยอินสุลินเป็นปัจจัยอิสระที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานไทย
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานไทยและลักษณะทางคลินิกที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางในผู้ป่วยเบาหวานที่รับการรักษาในคลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลรามาธิบดี และไม่มีประวัติหรือได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคซึมเศร้า โดยใช้แบบสอบถาม PHQ-9 ฉบับภาษาไทย (Thai version of the Patient Health Questionnaire) เป็นเครื่องมือคัดกรองภาวะซึมเศร้า เก็บข้อมูลลักษณะทางคลินิกและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการจากเวชระเบียน นำไปวิเคราะห์หาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า โดยอาศัยวิธี multivariate logistic regression ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 375 ราย พบความชุกของภาวะซึมเศร้าร้อยละ 15.8 ปัจจัยที่พบในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าบ่อยกว่าผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ระดับการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถม การรักษาด้วยอินสุลินและมีระดับ HbA1C gif.latex?\geq 8% แต่เมื่อนำปัจจัยเหล่านี้ไปวิเคราะห์โดย multivariate logistic regression พบว่า ปัจจัยอิสระที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ระดับการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถม และรักษาด้วยอินสุลิน สรุป: ผู้ป่วยเบาหวานที่รับการรักษาในคลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลรามาธิบดี มีความชุกของภาวะซึมเศร้าค่อนข้างสูง ระดับการศึกษาต่ำกว่าชั้นประถมและการรักษาด้วยอินสุลินเป็นปัจจัยอิสระที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานไทย