Social impact assessment of central healthcare waste incinerator project in Yala province
Issued Date
2023
Copyright Date
2009
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 185 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Tropical Medicine))--Mahidol University, 2009
Suggested Citation
Patthanasak Khammaneechan Social impact assessment of central healthcare waste incinerator project in Yala province. Thesis (Ph.D. (Tropical Medicine))--Mahidol University, 2009. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89413
Title
Social impact assessment of central healthcare waste incinerator project in Yala province
Alternative Title(s)
การประเมินผลกระทบทางสังคมจากโครงการสร้างเตาเผามูลฝอยติดเชื้อแบบศูนย์รวมที่จังหวัดยะลา
Author(s)
Abstract
การศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบทางสังคมจากโครงการเตาเผามูลฝอยติดเชื้อแบบศูนย์รวม การศึกษานี้ได้รวบรวมข้อมูลทั้งแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ ด้วยวิธีการทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณจาก ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 300 ครอบครัวที่อยู่ใกล้ที่ตั้งโครงการ และจากบุคลากรในสถานบริการ สาธารณสุขจำนวน 127 แห่ง ที่สมัครใจให้ข้อมูล ข้อมูลจากครัวเรือนได้รวบรวม 3 ครั้งคือ ก่อนเริ่ม โครงการ ขณะก่อสร้างโครงการ และหลังเปิดดำเนินการ ส่วนในสถานบริการสาธารณสุขเก็บรวบรวม ข้อมูล 2 ครั้งคือ ก่อนเริ่มโครงการและหลังเปิดดำเนินการ ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ดดยใช้สถิติเชิง พรรณนาในการบรรยายลักษณะทางประชากรของกลุ่มตัวอย่างและตัวแปรอื่นๆที่ศึกษา ใช้สถิติ Chisquare test, Cochran's Q test, Wilcoxon sign rank test และ McNemar test ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไปตามความเหมาะสม ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า โครงการไม่มีผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพ การศึกษาและแหล่ง น้ำใช้ของชุมชนท้องถิ่น แต่มีผลกระทบต่อการรับรู้ถึงความเสี่ยงต่อสุขภาพ การใช้ถนนและการแสวงหา น้ำดื่ม จำนวนผู้ที่คาดว่าจะเกิดปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็น เชื้อโรคและอันตรายจากท้องถนนเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญ ส่วนผลดีที่คาดว่าจะเกิดเช่น โอกาสในการได้งานทำ การพัฒนาของชุมชนและการมีสิ่งแวดล้อม ที่ดี นอกจากนั้นพบว่ามีแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างในชุมชนท้องถิ่นเมื่อกลุ่มคนงานกำจัด ขยะในโครงการกลายเป็นผู้นำใหม่ และพบว่าระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในพื้นที่ดีขึ้น ขณะที่ผลการ วิเคราะห์ต้นทุนผลได้ก็พบผลดีต่อเจ้าของโครงการและประชาชนโดยรวมเช่นกัน โครงการสร้างเตาเผามูลฝอยติดเชื้อแบบศูนย์รวมก่อผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบแก่ ชุมชนท้องถิ่น จึงควรส่งเสริมการใช้มาตรการในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบเพื่อคุ้มครองชุมชน ท้องถิ่นต่อไป
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Tropical Medicine
Degree Discipline
Tropical Medicine
Degree Grantor(s)
Mahidol University