A comparative study on conceptual metaphors of taste terms in Thai and Vietnamese
Issued Date
2023
Copyright Date
2012
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 155 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Rujiwan Laophairoj A comparative study on conceptual metaphors of taste terms in Thai and Vietnamese. Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89472
Title
A comparative study on conceptual metaphors of taste terms in Thai and Vietnamese
Alternative Title(s)
การศึกษาเปรียบเทียบอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของคำเรียกรสในภาษาไทยและภาษาเวียดนาม
Author(s)
Abstract
The objectives of this study were to examine the use, metaphorical meanings and metaphorical concepts of four taste terms in Thai and Vietnamese, namely bitter, salty, sour and sweet, and to compare the similarities and differences of the conceptual metaphors of the terms in the two languages. The data for semantic analysis and attributes of the taste terms were collected from dictionaries, proverb dictionaries, and five informants from each language. The data on the context of use were gathered from linguistic corpora, compilation of proverbs and interviews with five informants from each language. The result on metaphorical distribution of the taste terms based on their structure reveal that the terms in both languages have similar metaphorical use in two types. The first type is single taste terms with metaphorical meaning. The second type is the taste terms in combination with other words with metaphorical meanings. This type is divided into the taste terms in combination with other taste terms and the taste terms in combination with other words. Each type is different in details in the two languages. With regard to the result on metaphorical meanings of Thai, the taste terms are broadly categorized into two semantic domains: person metaphor and state metaphor. The Vietnamese taste terms are categorized into one semantic domain: state metaphor. Each type is different in details in the two languages. For metaphorical concepts of Thai and Vietnamese taste terms, they are used to express metaphorical concepts: HUMAN QUALITIES ARE TASTES
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ ศึกษาลักษณะการใช้คำเรียกรส ขม เค็ม เปรี้ยว หวาน ที่เป็นอุปลักษณ์ ในภาษาไทยและภาษาเวียดนาม, ศึกษาความหมายเชิงอุปลักษณ์จากคำเรียกรส และศึกษามโนทัศน์เชิงอุปลักษณ์ ของคำเรียกรสทั้ง 4 คำ จากภาษาทั้งสอง รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์จากคำเรียกรสในสองภาษาว่ามีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร โดยข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ความหมาย และ คุณลักษณะต่าง ๆ ของคำเรียกรส เก็บจาก พจนานุกรม และ ผู้บอกภาษา ภาษาละ 5คน ในส่วนข้อมูลที่เกี่ยวกับปริบทการใช้ของคำเรียกรส เก็บจากคลังข้อมูลภาษา และผู้บอกภาษาของทั้งสองภาษา ผลการศึกษาลักษณะการใช้คำเรียกรสที่เป็นอุปลักษณ์โดยพิจารณาจากโครงสร้างของคำ พบว่า ในภาษาไทยและภาษาเวียดนามมีรูปแบบการใช้คำเรียกรสที่มีความหมายเชิงอุปลักษณ์ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ มีลักษณะการใช้คำเรียกรสที่มีความหมายเชิงอุปลักษณ์อยู่ 2 รูปแบบ ด้วยกัน คือ 1.) คำเรียกรสเดี่ยวๆ ที่ปรากฎเพียง 1 คำในบริบท และมีความหมายเชิงอุปลักษณ์ และ 2.) คำเรียกรสที่ประสมกับคำเรียกรสอื่นแล้วมีความหมายเชิงอุปลักษณ์ ซึ่งรูปแบบนี้สามารถแบ่งย่อยตามเกณฑ์การปรากฎได้เป็น 2.1) คำเรียกรสที่ประสมกับคำเรียกรส 2.2) คำเรียกรสที่ประสมกับคำอื่น ซึ่งคำเรียกรสที่ใช้ในแต่ละรูปแบบของภาษาไทยและภาษาเวียดนามมีความแตกต่างกันในรายละเอียด ผลการศึกษาความหมายเชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรสพบว่า ในภาษาไทยมีความหมายเชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรสที่สามารถจัดแบ่งได้เป็น 2 แวดวงความหมาย คือ 1.) อุปลักษณ์บุคคล และ 2.) อุปลักษณ์อาการ ส่วนในภาษาเวียดนามสามารถจัดแบ่งได้เป็น 1 แวดวงความหมาย คือ 1.) อุปลักษณ์อาการ และยังพบว่าคำเรียกรสที่แสดงความหมายอุปลักษณ์ในแต่ละวงความหมายของภาษาทั้งสองนั้นพบว่ามีการใช้คำที่แตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์มโนทัศน์เชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรสในภาษาไทยและภาษาเวียดนามพบว่า ทั้งสองภาษามีมโนทัศน์เชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรส คือ คำเรียกรสเป็นคุณลักษณะของมนุษย์
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ ศึกษาลักษณะการใช้คำเรียกรส ขม เค็ม เปรี้ยว หวาน ที่เป็นอุปลักษณ์ ในภาษาไทยและภาษาเวียดนาม, ศึกษาความหมายเชิงอุปลักษณ์จากคำเรียกรส และศึกษามโนทัศน์เชิงอุปลักษณ์ ของคำเรียกรสทั้ง 4 คำ จากภาษาทั้งสอง รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์จากคำเรียกรสในสองภาษาว่ามีความแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร โดยข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ความหมาย และ คุณลักษณะต่าง ๆ ของคำเรียกรส เก็บจาก พจนานุกรม และ ผู้บอกภาษา ภาษาละ 5คน ในส่วนข้อมูลที่เกี่ยวกับปริบทการใช้ของคำเรียกรส เก็บจากคลังข้อมูลภาษา และผู้บอกภาษาของทั้งสองภาษา ผลการศึกษาลักษณะการใช้คำเรียกรสที่เป็นอุปลักษณ์โดยพิจารณาจากโครงสร้างของคำ พบว่า ในภาษาไทยและภาษาเวียดนามมีรูปแบบการใช้คำเรียกรสที่มีความหมายเชิงอุปลักษณ์ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ มีลักษณะการใช้คำเรียกรสที่มีความหมายเชิงอุปลักษณ์อยู่ 2 รูปแบบ ด้วยกัน คือ 1.) คำเรียกรสเดี่ยวๆ ที่ปรากฎเพียง 1 คำในบริบท และมีความหมายเชิงอุปลักษณ์ และ 2.) คำเรียกรสที่ประสมกับคำเรียกรสอื่นแล้วมีความหมายเชิงอุปลักษณ์ ซึ่งรูปแบบนี้สามารถแบ่งย่อยตามเกณฑ์การปรากฎได้เป็น 2.1) คำเรียกรสที่ประสมกับคำเรียกรส 2.2) คำเรียกรสที่ประสมกับคำอื่น ซึ่งคำเรียกรสที่ใช้ในแต่ละรูปแบบของภาษาไทยและภาษาเวียดนามมีความแตกต่างกันในรายละเอียด ผลการศึกษาความหมายเชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรสพบว่า ในภาษาไทยมีความหมายเชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรสที่สามารถจัดแบ่งได้เป็น 2 แวดวงความหมาย คือ 1.) อุปลักษณ์บุคคล และ 2.) อุปลักษณ์อาการ ส่วนในภาษาเวียดนามสามารถจัดแบ่งได้เป็น 1 แวดวงความหมาย คือ 1.) อุปลักษณ์อาการ และยังพบว่าคำเรียกรสที่แสดงความหมายอุปลักษณ์ในแต่ละวงความหมายของภาษาทั้งสองนั้นพบว่ามีการใช้คำที่แตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์มโนทัศน์เชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรสในภาษาไทยและภาษาเวียดนามพบว่า ทั้งสองภาษามีมโนทัศน์เชิงอุปลักษณ์ของคำเรียกรส คือ คำเรียกรสเป็นคุณลักษณะของมนุษย์
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Degree Discipline
Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University