Life choices conducive to never-married women's illness under the Husk of modernity
Issued Date
2023
Copyright Date
2013
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 371 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Patrapan Tamdee Life choices conducive to never-married women's illness under the Husk of modernity. Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89529
Title
Life choices conducive to never-married women's illness under the Husk of modernity
Alternative Title(s)
ทางเลือกชีวิตที่นำไปสู่ความเจ็บป่วยของผู้หญิงโสดภายใต้ เปลือก ของภาวะสมัยใหม่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This study aims to explore the health experience and social life of never-married women related to high modernity context and self-reflexivity process by applying Structuration Theory of Anthony Giddens. In-depth interviews were conducted with 45 respondents of never-married women aged 30-50 who have health problems and living or working in Bangkok Metropolitan Area. It is found out that never-married women in modern society have been ill and troubled in social life because they are pressured by husky modernity to choose their life choices. These choices seem to be free but, in fact, push them to have bipolar self-identity. On one side, they feel strong and do not care about society, mindful to work, enterprising, and do not need marriage. At the same time, they also feel weak, sensitive and care about surrounding people, suffering from work, hesitant, and need to be married. Whichever choice of identity they face, the consequences may lead them to the state of illness, distress, anxiety, paranoid and risk in every context of life such as work, general living and intimacy. This is the result of procuring by husky modernity which changes so rapidly but no core and full of double standards of traditional and new norms that mixed together, and fighting against each other. The study results have suggested that fostering trust in social principles to facilitate never-married women's good health, together with supporting health-related knowledge and information exchange, will enable them to sensibly decide on a path to good health.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายประสบการณ์สุขภาพและการใช้ชีวิตทางสังคมของผู้หญิงโสดที่เชื่อมโยงกับบริบทของภาวะสมัยใหม่และกระบวนการตอบสนองต่อภาวะดังกล่าว โดยอธิบายปรากฏการณ์ภายใต้กรอบวิธีคิดของ Anthony Giddens เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้หญิงโสดที่ยังไม่เคยแต่งงาน อายุระหว่าง 30-50 ปี ซึ่งมีปัญหาสุขภาพและการทำงานหรือมีที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพฯ จำนวน 45 คน ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ผู้หญิงโสดในสังคมสมัยใหม่ต้องเจ็บป่วยและเป็นทุกข์กับการใช้ชีวิตเนื่องจากถูกสังคมที่มีแต่ "เปลือก" ของความทันสมัยกดดันหรือทำให้ต้องตัดสินใจเลือกเส้นทางชีวิตของตัวเองที่ดูเหมือจะอิสระ แต่จริง ๆ แล้วกลับถูกผลักดันให้ต้องตกอยู่ในสภาพอัตลักษณ์สองขั้ว คือ ขั้วของความแข็งแกร่ง ไม่แคร์สังคม มุ่งมั่นแต่งาน กล้าได้กล้าเสีย ไม่สนใจการแต่งงาน แต่ในขณะเดียวกันก็รู้สึกว่าตนเองอ่อนแอ แคร์คนรอบข้าง ทุกข์จากงาน ลังเล และลึก ๆ แล้วยังรู้สึกอยากจะแต่งงาน ซึ่งไม่ว่าจะโน้มเอียงไปในขั้นไหนก็ตาม ในที่สุดผลที่ตามมาจากการถูกล่อลวงโดยภาวะสมัยใหม่แต่เพียงเปลือกนอก ก็คือ ความเจ็บป่วย ความทุกข์ ความวิตกกังวล ความหวาดระแวง และสภาพการใช้ชีวิตที่เต็มไปด้วยความเสี่ยงในทุกบริบท ทั้งด้านการทำงาน การใช้ชีวิตทั่วไป และสัมพันธภาพอันลึกซึ้ง เนื่องจากสังคมดังกล่าวเป็นสังคมที่มีแต่เปลือกนอกของความทันสมัยที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ฉาบฉวย แต่ภายในไม่มีแก่นและเต็มไปด้วยสองมาตรฐาน ระหว่างความใหม่กับความเก่าที่ทั้งถูกหลอมรวมและขัดแย้งกันจนผู้หญิงโสดต้องอยู่ในสภาวะไร้หลักยึด การสร้างหลักประกันทางสัมคมที่มั่นคงและการแปลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวิธีการจัดการและตอบสนองต่อเงื่อนไขดังกล่าวจะสามารถช่วยให้ผู้หญิงโสดได้มีโอกาสตัดสินในเลือกช่องทางที่จะนำไปสู่งการมีสุขภาพและการใช้ชีวิตที่ดีขึ้นได้
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายประสบการณ์สุขภาพและการใช้ชีวิตทางสังคมของผู้หญิงโสดที่เชื่อมโยงกับบริบทของภาวะสมัยใหม่และกระบวนการตอบสนองต่อภาวะดังกล่าว โดยอธิบายปรากฏการณ์ภายใต้กรอบวิธีคิดของ Anthony Giddens เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้หญิงโสดที่ยังไม่เคยแต่งงาน อายุระหว่าง 30-50 ปี ซึ่งมีปัญหาสุขภาพและการทำงานหรือมีที่พักอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพฯ จำนวน 45 คน ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ผู้หญิงโสดในสังคมสมัยใหม่ต้องเจ็บป่วยและเป็นทุกข์กับการใช้ชีวิตเนื่องจากถูกสังคมที่มีแต่ "เปลือก" ของความทันสมัยกดดันหรือทำให้ต้องตัดสินใจเลือกเส้นทางชีวิตของตัวเองที่ดูเหมือจะอิสระ แต่จริง ๆ แล้วกลับถูกผลักดันให้ต้องตกอยู่ในสภาพอัตลักษณ์สองขั้ว คือ ขั้วของความแข็งแกร่ง ไม่แคร์สังคม มุ่งมั่นแต่งาน กล้าได้กล้าเสีย ไม่สนใจการแต่งงาน แต่ในขณะเดียวกันก็รู้สึกว่าตนเองอ่อนแอ แคร์คนรอบข้าง ทุกข์จากงาน ลังเล และลึก ๆ แล้วยังรู้สึกอยากจะแต่งงาน ซึ่งไม่ว่าจะโน้มเอียงไปในขั้นไหนก็ตาม ในที่สุดผลที่ตามมาจากการถูกล่อลวงโดยภาวะสมัยใหม่แต่เพียงเปลือกนอก ก็คือ ความเจ็บป่วย ความทุกข์ ความวิตกกังวล ความหวาดระแวง และสภาพการใช้ชีวิตที่เต็มไปด้วยความเสี่ยงในทุกบริบท ทั้งด้านการทำงาน การใช้ชีวิตทั่วไป และสัมพันธภาพอันลึกซึ้ง เนื่องจากสังคมดังกล่าวเป็นสังคมที่มีแต่เปลือกนอกของความทันสมัยที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ฉาบฉวย แต่ภายในไม่มีแก่นและเต็มไปด้วยสองมาตรฐาน ระหว่างความใหม่กับความเก่าที่ทั้งถูกหลอมรวมและขัดแย้งกันจนผู้หญิงโสดต้องอยู่ในสภาวะไร้หลักยึด การสร้างหลักประกันทางสัมคมที่มั่นคงและการแปลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวิธีการจัดการและตอบสนองต่อเงื่อนไขดังกล่าวจะสามารถช่วยให้ผู้หญิงโสดได้มีโอกาสตัดสินในเลือกช่องทางที่จะนำไปสู่งการมีสุขภาพและการใช้ชีวิตที่ดีขึ้นได้
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Medical and Health Social Sciences
Degree Grantor(s)
Mahidol University