Enhancing the resilience of juvenile offenders in narcotic case
Issued Date
2023
Copyright Date
2016
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 175 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Pacharin Sumsiripong Enhancing the resilience of juvenile offenders in narcotic case. Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89800
Title
Enhancing the resilience of juvenile offenders in narcotic case
Alternative Title(s)
การสร้างความเข้มแข็งทางใจของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดในคดียาเสพติด
Author(s)
Abstract
This research was both a qualitative and quantitative study. The aims of this research were to study the resilience of juvenile offenders in narcotic cases; to study factors related to resilience level of juvenile offenders in narcotic cases, and to study how to enhance the resilience of juvenile offenders in narcotic cases. Data were collected using questionnaire from 111 samples who were juveniles serving time in the training center and those who were released and followed up by Phranakhon Sri Ayudhaya Vocational Training Center, and by indepth interview from 20 samples including experts in juvenile justice system, multidisciplinary, and staff of Phranakhon Sri Ayudhaya Vocational Training Center. The results showed that the majority of the samples had medium level of resilience. When comparing the level of resilience between the group of juveniles in training process and the other group of juveniles who were released and followed up, results showed that different groups significantly caused the difference in resilience. Communication within family could contribute significantly to the prediction of resilience, autonomy, and problem solving. Peer information could also contribute significantly to the prediction of problem solving. When it comes to specific Therapeutic Community activities, it was found that the encounter group could contribute significantly to the prediction of problem solving. Seminar group could contribute significantly to the prediction of resilience, autonomy, problem solving, and sense of meaning and purpose. Reward could contribute significantly to the prediction of problem solving, and sense of meaning and purpose. All variables had a positive relationships with each aspect of resilience. The research concluded that forms and activities including sense of self, sense of control, sense of connection and sense of purpose strengthen the resilience of juvenile offenders in narcotic cases. Furthermore, external support including family and society enhanced the resilience of juvenile offenders in narcotic cases as well.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสม (Mixed Method) โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความเข้มแข็งทางใจของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดในคดียาเสพติด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจของเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดในคดียาเสพติด และ 3) เพื่อหาแนวทางการสร้างความเข้มแข็งทางใจของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดในคดียาเสพติด เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) และ แบบสัมภาษณ์ เพื่อใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจากแบบสอบถาม คือ เด็กและเยาวชนที่อยู่ในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายพระนครศรีอยุธยาทั้งหมดจำนวน 72 คน และเด็กและเยาวชนที่เคยผ่านการอบรมจากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายพระนครศรีอยุธยา จากการ กระทำความผิดในคดีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ที่อยู่ในระยะติดตามของศูนย์ฝึกฯ ทั้งหมดจำนวน 39 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้ปกครองของเด็กและเยาวชนอยู่ในระยะติดตาม ที่ได้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ และ ผู้บริหาร ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายพระนครศรีอยุธยา จำนวน 5 คน และ สหวิชาชีพ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน จำนวน 5 คน ผลการวิจัย พบว่า เด็กและเยาวชนส่วนมากมีระดับความเข้มแข็งทางใจอยู่ในระดับปานกลาง เด็กและเยาวชนที่อยู่ในศูนย์ ฝึกฯ กับเด็กและเยาวชนในระยะติดตามมีความเข้มแข็งทางใจที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยด้านสัมพันธภาพของครอบครัวเรื่องของการสื่อสารอย่างมีคุณภาพระหว่างกันมีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจรวม ความเข้มแข็งทางใจด้านความสามารถในการดูแลและควบคุมตนเอง และความเข้มแข็งทางใจในด้านการแก้ไขปัญหา ปัจจัยด้านการคบเพื่อนมี ความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจในด้านการแก้ไขปัญหา เมื่อวิเคราะห์เฉพาะปัจจัยกิจกรรมชุมชนบำบัดพบว่า กลุ่มปรับความเข้าใจมีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจด้านการแก้ไขปัญหา กลุ่มสัมมนามีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจรวม ความเข้มแข็งทางใจด้านการดูแลและควบคุมตนเอง ด้านการแก้ไขปัญหา และด้านความมุ่งมั่นตั้งใจในการประสบความสำเร็จในชีวิต และ การให้รางวัลมีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจด้านการแก้ไขปัญหา และด้านความมุ่งมั่นตั้งใจในการประสบความสำเร็จในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยปัจจัยทั้งหมดมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน สำหรับแนวทางการสร้างความเข้มแข็งทางใจประกอบด้วยกิจกรรมที่ใช้ในการบำบัด แก้ไข และฟื้ นฟู และแรงสนับสนุนภายนอก โดยกิจกรรมที่ใช้ ได้แก่ 1) กิจกรรมสร้าง ความเชื่อมั่นในการจัดการชีวิต 2) กิจกรรมสร้างความรู้สึกดีกับตนเอง 3) กิจกรรมสร้างสายสัมพันธ์เกื้อหนุน และ 4) กิจกรรมสร้างจุดมุ่งหมายในชีวิต และแรงสนับสนุนภายนอกที่จะช่วยสร้างความเข้มแข็งทางใจประกอบด้วย ครอบครัว และสังคม
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสม (Mixed Method) โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความเข้มแข็งทางใจของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดในคดียาเสพติด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจของเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดในคดียาเสพติด และ 3) เพื่อหาแนวทางการสร้างความเข้มแข็งทางใจของเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดในคดียาเสพติด เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) และ แบบสัมภาษณ์ เพื่อใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจากแบบสอบถาม คือ เด็กและเยาวชนที่อยู่ในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายพระนครศรีอยุธยาทั้งหมดจำนวน 72 คน และเด็กและเยาวชนที่เคยผ่านการอบรมจากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายพระนครศรีอยุธยา จากการ กระทำความผิดในคดีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ที่อยู่ในระยะติดตามของศูนย์ฝึกฯ ทั้งหมดจำนวน 39 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้ปกครองของเด็กและเยาวชนอยู่ในระยะติดตาม ที่ได้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ และ ผู้บริหาร ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายพระนครศรีอยุธยา จำนวน 5 คน และ สหวิชาชีพ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน จำนวน 5 คน ผลการวิจัย พบว่า เด็กและเยาวชนส่วนมากมีระดับความเข้มแข็งทางใจอยู่ในระดับปานกลาง เด็กและเยาวชนที่อยู่ในศูนย์ ฝึกฯ กับเด็กและเยาวชนในระยะติดตามมีความเข้มแข็งทางใจที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยด้านสัมพันธภาพของครอบครัวเรื่องของการสื่อสารอย่างมีคุณภาพระหว่างกันมีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจรวม ความเข้มแข็งทางใจด้านความสามารถในการดูแลและควบคุมตนเอง และความเข้มแข็งทางใจในด้านการแก้ไขปัญหา ปัจจัยด้านการคบเพื่อนมี ความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจในด้านการแก้ไขปัญหา เมื่อวิเคราะห์เฉพาะปัจจัยกิจกรรมชุมชนบำบัดพบว่า กลุ่มปรับความเข้าใจมีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจด้านการแก้ไขปัญหา กลุ่มสัมมนามีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจรวม ความเข้มแข็งทางใจด้านการดูแลและควบคุมตนเอง ด้านการแก้ไขปัญหา และด้านความมุ่งมั่นตั้งใจในการประสบความสำเร็จในชีวิต และ การให้รางวัลมีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งทางใจด้านการแก้ไขปัญหา และด้านความมุ่งมั่นตั้งใจในการประสบความสำเร็จในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยปัจจัยทั้งหมดมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน สำหรับแนวทางการสร้างความเข้มแข็งทางใจประกอบด้วยกิจกรรมที่ใช้ในการบำบัด แก้ไข และฟื้ นฟู และแรงสนับสนุนภายนอก โดยกิจกรรมที่ใช้ ได้แก่ 1) กิจกรรมสร้าง ความเชื่อมั่นในการจัดการชีวิต 2) กิจกรรมสร้างความรู้สึกดีกับตนเอง 3) กิจกรรมสร้างสายสัมพันธ์เกื้อหนุน และ 4) กิจกรรมสร้างจุดมุ่งหมายในชีวิต และแรงสนับสนุนภายนอกที่จะช่วยสร้างความเข้มแข็งทางใจประกอบด้วย ครอบครัว และสังคม
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology, Justice Administration and Society
Degree Grantor(s)
Mahidol University