แนวคิดการสอนกันตรึมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา : วิธีการของครูน้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์
Issued Date
2567
Copyright Date
2561
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 213 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
สุธิศักดิ์ สมศรี (2567). แนวคิดการสอนกันตรึมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา : วิธีการของครูน้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91608
Title
แนวคิดการสอนกันตรึมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา : วิธีการของครูน้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์
Alternative Title(s)
Kantrum music teaching for secondary school children : the method of Nampueng Muangsurin
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติและผลงาน วิธีการสอนกันตรึมของครูน้ำผึ้งเมืองสุรินทร์ นำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติ สำหรับใช้จัดการเรียนการสอนในโรงเรียนแนงมุดวิทยา จังหวัดสุรินทร์ เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และการสังเกต จากการศึกษาพบว่า ครูน้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์มีชื่อจริงว่า สำรวม ดีสม เป็นชาวจังหวัดสุรินทร์ มีผลงานการแสดงกันตรึมมากมาย ทั้งยังสอนกันตรึมในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับมหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติจากสำนักงานวัฒนธรรมหาวิทยาลัยขอนแก่น รางวัล ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (ขับร้อง กันตรึม) ประจำปี 2558 และรางวัลอื่น ๆ อีกมากมาย การศึกษาการสอนกันตรึมของครูน้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์ ผลการวิจัยพบว่าครูน้ำผึ้งเมืองสุรินทร์ มีวิธีการสอนกันตรึมแบบจดจำและทำตาม ฝึกปฏิบัติซ้ำจนเกิดความชำนาญ ใช้เนื้อร้องภาษาไทยที่ประพันธ์ขึ้นใหม่ควบคู่ไปกับเนื้อร้องภาษาเขมรดั้งเดิมเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนรู้ เพลงที่ใช้ถ่ายทอดมี 10 เพลงคือ ปการัญเจ้ก เมืองสุรินทร์ เชิ้บเชิ้บ กัจปกา กัญจัญเจ้จ กโน้บติงต็อง มลบโดง อมตู้ก จืงมูย และจืงปีร
This research aimed to study the background knowledge of Kantrum music work of Nampueng Muangsurin. This method has been employed to teach the course of folk music in Nangmud Wittaya School Surin Province through qualitative research, interview, and observation approaches. The research found that Mrs. Samrom Deesom is the real name of Nampueng Muangsurin in Surin Province. She has been working and teaching various Kantrum music to students in basic education up to the university level. She was honored by the Cultural Office of Khonkaen University E-san Heritage Artist Award (singing Kantrum) in 2015 and a recipient of many other awards. According to the research, Nampueng Muangsurin has taught how to transfer the ability to perform Kantrum by remembering and following the concepts. Then practice was done until the students have developed the expertise and skills. It's easy to learn from her since she used Thai lyrics that have been re-written along with the original Khmer language. There were ten songs: Pakarunjek, Muangsurin, Cherp-Cherp, Katpaka, Kanchanjaj, Kanoptingtong, Malop-Dong, Omtuk, Jungmui, and Jungpreer that were used in Kantrum music.
This research aimed to study the background knowledge of Kantrum music work of Nampueng Muangsurin. This method has been employed to teach the course of folk music in Nangmud Wittaya School Surin Province through qualitative research, interview, and observation approaches. The research found that Mrs. Samrom Deesom is the real name of Nampueng Muangsurin in Surin Province. She has been working and teaching various Kantrum music to students in basic education up to the university level. She was honored by the Cultural Office of Khonkaen University E-san Heritage Artist Award (singing Kantrum) in 2015 and a recipient of many other awards. According to the research, Nampueng Muangsurin has taught how to transfer the ability to perform Kantrum by remembering and following the concepts. Then practice was done until the students have developed the expertise and skills. It's easy to learn from her since she used Thai lyrics that have been re-written along with the original Khmer language. There were ten songs: Pakarunjek, Muangsurin, Cherp-Cherp, Katpaka, Kanchanjaj, Kanoptingtong, Malop-Dong, Omtuk, Jungmui, and Jungpreer that were used in Kantrum music.
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล