Self-perception of practical skills among prosthetic and orthotic students ahead of graduation
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 109 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019
Suggested Citation
Prawina Sutdet Self-perception of practical skills among prosthetic and orthotic students ahead of graduation. Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2019. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91690
Title
Self-perception of practical skills among prosthetic and orthotic students ahead of graduation
Alternative Title(s)
การรับรู้ความสามารถด้านทักษะของตนเองในนักศึกษากายอุปกรณ์ที่กำลังจะจบการศึกษา
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The aims of this study were to evaluate final year prosthetic and orthotic students' self-perception of their practical skills and work readiness. A mixed method was applied to conduct the study at Sirindhorn School of Prosthetics and Orthotic. 27 students participated with a response rate of 93.1%. The questionnaire consisted of demographic data which included 45 questions on students' self-perception of their practical skills and work readiness. The relationship between students' self-efficacy score on practical skills and work readiness was analyzed by the use of correlation statistics. A face to face interview to identify reasons to build their confidence was also conducted. Using content analysis to analyze the data, results showed that students have presented the highest confidence level on Ankle Foot Orthosis and lowest confidence level on hip disarticulation/ hemipelvectomy prosthetics. Moreover, the respondents graded their work readiness with 3.86 out of 5 points. On the other hand, there was no correlation between selfefficacy score on practical skills of the students and their self-efficacy's level on work readiness (Correlation r = - 0.017, p = 0.938.). Further, the content analysis results showed that the students described factors that fit Bandura's theory of the four sources of self-efficacy and the mastery experience was the source of self-efficacy that students mentioned most. Furthermore, the results also demonstrated self-preparation as another factor that affects students' confidence levels. The results suggest that prosthetic and orthotic students lack confidence to perform some kind of devices. The curriculum should be more concerned in the role of increasing self-efficacy on students' practical skills and work readiness.
วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อประเมินการรับรู้ความสามารถด้านทักษะของตนเองและ ความพร้อมในการทำงานของนักศึกษากายอุปกรณ์ที่กำลังจะจบการศึกษา ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานโดยเก็บข้อมูลที่โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร มีผู้เข้าร่วมงานวิจัย 27 คน (อัตราการตอบแบบสอบถาม 93.1%) แบบสอบถามประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับข้อมูลประชากร คำถามเกี่ยวกับการรับรู้ความสามารถ ด้านทักษะของตนเองและความพร้อมในการทำงาน 45 ข้อ ใช้สถิติสหสัมพันธ์ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถด้านทักษะของตนเองและความพร้อมในการทำงาน จากนั้นสัมภาษณ์ นักศึกษาแบบตัวต่อตัวเพื่อหาสาเหตุที่ทำให้นักศึกษารู้สึกมีความมั่นใจ การวิเคราะห์ผลการวิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการศึกษาพบว่านักเรียนรู้สึกมั่นใจมากที่สุดในการทำกายอุปกรณ์เสริมประคองข้อเท้า (Ankle foot orthosis) และต่ำที่สุดในกายอุปกรณ์เทียมระดับผ่านข้อสะโพก (Hip disarticulation/ hemipelvectomy) คะแนนความพร้อมในการทำงาน (Work readiness) ได้ 3.86 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ระดับความมั่นใจในทักษะทางกายอุปกรณ์ของนักศึกษาไม่สัมพันธ์กับความพร้อมในการทำงาน (r = - 0.017, p = .938) ผลการวิเคราะห์เนื้อหาพบว่าปัจจัยที่ทำให้นักศึกษารู้สึกมั่นใจมาจาก 4 แหล่งตามทฤษฎีของแบนดูร่า โดยประสบการณ์ความสำเร็จในอดีต (Mastery experiences) เป็นปัจจัยที่นักศึกษากล่าวถึงมากที่สุด และยังพบว่ามีอีกปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความมั่นใจคือการเตรียมตัวก่อนเรียนการศึกษานี้พบว่านักศึกษากายอุปกรณ์ยังรู้สึกไม่มีความมั่นใจในการผลิตกายอุปกรณ์บางชนิด หลักสูตรควรให้ความสำคัญในการเพิ่มระดับความมั่นใจในทักษะทางกายอุปกรณ์ของนักศึกษาและความพร้อมในการทำงาน
วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อประเมินการรับรู้ความสามารถด้านทักษะของตนเองและ ความพร้อมในการทำงานของนักศึกษากายอุปกรณ์ที่กำลังจะจบการศึกษา ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานโดยเก็บข้อมูลที่โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร มีผู้เข้าร่วมงานวิจัย 27 คน (อัตราการตอบแบบสอบถาม 93.1%) แบบสอบถามประกอบด้วยคำถามเกี่ยวกับข้อมูลประชากร คำถามเกี่ยวกับการรับรู้ความสามารถ ด้านทักษะของตนเองและความพร้อมในการทำงาน 45 ข้อ ใช้สถิติสหสัมพันธ์ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถด้านทักษะของตนเองและความพร้อมในการทำงาน จากนั้นสัมภาษณ์ นักศึกษาแบบตัวต่อตัวเพื่อหาสาเหตุที่ทำให้นักศึกษารู้สึกมีความมั่นใจ การวิเคราะห์ผลการวิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการศึกษาพบว่านักเรียนรู้สึกมั่นใจมากที่สุดในการทำกายอุปกรณ์เสริมประคองข้อเท้า (Ankle foot orthosis) และต่ำที่สุดในกายอุปกรณ์เทียมระดับผ่านข้อสะโพก (Hip disarticulation/ hemipelvectomy) คะแนนความพร้อมในการทำงาน (Work readiness) ได้ 3.86 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ระดับความมั่นใจในทักษะทางกายอุปกรณ์ของนักศึกษาไม่สัมพันธ์กับความพร้อมในการทำงาน (r = - 0.017, p = .938) ผลการวิเคราะห์เนื้อหาพบว่าปัจจัยที่ทำให้นักศึกษารู้สึกมั่นใจมาจาก 4 แหล่งตามทฤษฎีของแบนดูร่า โดยประสบการณ์ความสำเร็จในอดีต (Mastery experiences) เป็นปัจจัยที่นักศึกษากล่าวถึงมากที่สุด และยังพบว่ามีอีกปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความมั่นใจคือการเตรียมตัวก่อนเรียนการศึกษานี้พบว่านักศึกษากายอุปกรณ์ยังรู้สึกไม่มีความมั่นใจในการผลิตกายอุปกรณ์บางชนิด หลักสูตรควรให้ความสำคัญในการเพิ่มระดับความมั่นใจในทักษะทางกายอุปกรณ์ของนักศึกษาและความพร้อมในการทำงาน
Description
Health Science Education (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Health Science Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University