Risk assessments of disclosed individual data on Facebook in Thai generations
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 75 leaves : ill., charts
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Phatcharaporn Thiensawat Risk assessments of disclosed individual data on Facebook in Thai generations. Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91791
Title
Risk assessments of disclosed individual data on Facebook in Thai generations
Alternative Title(s)
การประเมินความเสี่ยงของการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลบน Facebook ในแต่ละช่วงวัยของคนไทย
Author(s)
Abstract
Nowadays, people use social media as part of their daily life. They are used to share the users' interests and their stories to their acquaintances, friends and family. Users often include sensitive personal information on their profiles. Many people are not concerned about their information which the make available online. They are creating trails and digital footprints on the internet which could be used to track them. This research aims to assess risk of disclosed individual data on Facebook in Generation Baby Boomers, generation X, Y and Z in Thailand and identify potential threat events of Facebook digital footprint. Data of 200 Facebook users from all the four generations in Thailand who shared their profile and timeline posts to public were collected from July - September 2018. Measurement rates given by 8 security experts on the questionnaire for likelihood and impact assessment scale, generation risk weight and impact level of the data were used to identify risk in the collected data shared by the selected users. The results of this research show that generation z has the highest risk level result of left digital footprints trace, followed by generation y and boomers. Generation x has the lowest level of risk. The knowledge and experience of using technology have effect on privacy settings on Facebook. Daily life style, social, education and work environment of Facebook user affect the level of risk of each generation in sharing information or leaving digital footprints trace.
ในปัจจุบันนี้ผู้คนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน พวกเขาใช้เพื่อแบ่งปันความสนใจและเรื่องราวกับคนรู้จัก เพื่อนและครอบครัว โดยผู้ใช้มักจะใส่ข้อมูลส่วนบุคคลที่ละเอียดอ่อนในโปรไฟล์ของพวกเขา คนส่วนใหญ่ไม่กังวลเกี่ยวกับข้อมูลของพวกเขาที่มีอยู่บนโลกออนไลน์ พวกเขากำลังสร้างรอยและร่องรอยดิจิตอลบนอินเทอร์เน็ตซึ่งสามารถใช้ติดตามพวกเขาได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้พยายามแสดงให้เห็นว่ารองรอยดิจิทัลสามารถนำมาซึ่งภัยคุกคามและความเสี่ยงแก่ผู้ใช้ FACEBOOK โดยการประเมินความเสี่ยงเหล่านั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลบน FACEBOOK ในระหว่างช่วงวัย BABY BOOMERS, X, Y และ Z ในประเทศไทย และทำการระบุเหตุการณ์ที่อาจเป็นภัยคุกคามของร่องรอยดิจิตอลบน FACEBOOK โดยเก็บข้อมูลจากผู้ใช้ 200 คนจากทั้งสี่รุ่นในประเทศไทยที่แชร์โปรไฟล์และโพสต์ไทม์ไลน์ของพวกเขาต่อสาธารณะ ข้อมูลรวบรวมตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน 2561 เกณฑ์การให้คะแนนได้จากผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย 8 คนตอบแบบสอบถามเพื่อใช้ในเกณฑ์ความน่าจะเป็น ระดับผลกระทบน้ำหนักความเสี่ยงของแต่ละช่วงวัย และระดับผลกระทบของข้อมูลถูกนำมาใช้เพื่อระบุความเสี่ยงจากข้อมูลที่รวบรวมการกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่าช่วงวัย Z มีระดับความเสี่ยงสูงสุดในการทิ้งร่องรอยดิจิตอล ตามด้วย Y และ BABY BOOMERS ช่วงวัย X มีระดับความเสี่ยงต่ำที่สุด ด้วยความรู้และประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีมีผลต่อการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวบน FACEBOOK รูปแบบการใช้ชีวิตประจำวันสังคมการศึกษาและสภาพแวดล้อมการทำงานของผู้ใช้ นั้นส่งผลต่อระดับความเสี่ยงของการเผื่อแพร่ข้อมูลหรือการทิ้งร่องรอยดิจิทัล
ในปัจจุบันนี้ผู้คนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน พวกเขาใช้เพื่อแบ่งปันความสนใจและเรื่องราวกับคนรู้จัก เพื่อนและครอบครัว โดยผู้ใช้มักจะใส่ข้อมูลส่วนบุคคลที่ละเอียดอ่อนในโปรไฟล์ของพวกเขา คนส่วนใหญ่ไม่กังวลเกี่ยวกับข้อมูลของพวกเขาที่มีอยู่บนโลกออนไลน์ พวกเขากำลังสร้างรอยและร่องรอยดิจิตอลบนอินเทอร์เน็ตซึ่งสามารถใช้ติดตามพวกเขาได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้พยายามแสดงให้เห็นว่ารองรอยดิจิทัลสามารถนำมาซึ่งภัยคุกคามและความเสี่ยงแก่ผู้ใช้ FACEBOOK โดยการประเมินความเสี่ยงเหล่านั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลบน FACEBOOK ในระหว่างช่วงวัย BABY BOOMERS, X, Y และ Z ในประเทศไทย และทำการระบุเหตุการณ์ที่อาจเป็นภัยคุกคามของร่องรอยดิจิตอลบน FACEBOOK โดยเก็บข้อมูลจากผู้ใช้ 200 คนจากทั้งสี่รุ่นในประเทศไทยที่แชร์โปรไฟล์และโพสต์ไทม์ไลน์ของพวกเขาต่อสาธารณะ ข้อมูลรวบรวมตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงกันยายน 2561 เกณฑ์การให้คะแนนได้จากผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย 8 คนตอบแบบสอบถามเพื่อใช้ในเกณฑ์ความน่าจะเป็น ระดับผลกระทบน้ำหนักความเสี่ยงของแต่ละช่วงวัย และระดับผลกระทบของข้อมูลถูกนำมาใช้เพื่อระบุความเสี่ยงจากข้อมูลที่รวบรวมการกลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่าช่วงวัย Z มีระดับความเสี่ยงสูงสุดในการทิ้งร่องรอยดิจิตอล ตามด้วย Y และ BABY BOOMERS ช่วงวัย X มีระดับความเสี่ยงต่ำที่สุด ด้วยความรู้และประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีมีผลต่อการตั้งค่าความเป็นส่วนตัวบน FACEBOOK รูปแบบการใช้ชีวิตประจำวันสังคมการศึกษาและสภาพแวดล้อมการทำงานของผู้ใช้ นั้นส่งผลต่อระดับความเสี่ยงของการเผื่อแพร่ข้อมูลหรือการทิ้งร่องรอยดิจิทัล
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University