การพัฒนางานบริการผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็ง ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
Issued Date
2567
Copyright Date
2560
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 261 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิลด
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561
Suggested Citation
สุชาดา ภางาม
การพัฒนางานบริการผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็ง ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91835
Title
การพัฒนางานบริการผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็ง ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
Alternative Title(s)
Development of childhood cancer inpatient services at Somdech Phra Debaratana Medical Center of Ramathibodi Hospital
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยพัฒนาเชิงทดลองแบบกลุ่มเดียว วัดก่อน-หลังการทดลอง เพื่อพัฒนางานให้บริการผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็ง สิ่งที่ใช้ในการทดลอง คือ รูปแบบการดำเนินงานให้บริการผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็งที่พัฒนาขึ้น นำไปทดลองที่หอผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็ง ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่าง 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560 กลุ่มตัวอย่าง คือ งานให้บริการผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็งตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงจนกระทั่งกลับออกไป จากศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ผู้ตอบแบบสอบถามรวม 39 คน เป็น ผู้บริหาร 3 คน ผู้ปฏิบัติงาน 20 คน และญาติผู้ป่วย 16 คน เปรียบเทียบ ผลการดำเนินงานระหว่าง ก่อน กับ หลัง การนำรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ไปดำเนินการ ในด้านปริมาณงานคุณภาพงาน ระยะเวลาและแรงงานที่ใช้ในการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง และด้านเศรษฐศาสตร์ในการดำเนินงาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติ Independent t-test และค่าสถิติ Pearson Chi-Square ที่ระดับแอลฟ่า 0.05 พบว่า หลังการทดลอง ผลการดำเนินงานทั้ง 5 ด้านดีกว่าก่อนการทดลองรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้น มีองค์ประกอบที่ครบถ้วน ทั้งด้านหลักการ โครงสร้าง และวิธีการนำรูปแบบไปดำเนินการอย่างต่อเนื่องสู่ความยั่งยืน โดยใช้เพียงทรัพยากรเท่าที่มีอยู่ด้วยกระบวนการพัฒนาที่ไม่ยุ่งยาก เสนอแนะให้พัฒนาต่อไปเป็นตัวแบบของการดำเนินงานให้บริการผู้ป่วยในเด็กโรคมะเร็งของประเทศ ด้วยแนวทางของการพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย
This experimental research, a pre-test and post-test design, aimed at developing pediatric oncology inpatient services. The implementation of the developed model of pediatric oncology inpatient services was tested at the Pediatric Oncology Inpatient Ward at Somdech Phra Debaratana Medical Center (SDMC), Ramathibodi Hospital, from October 1, 2016 - September 30, 2017. The samples were from the pediatric oncology inpatient services at SDMC, including 3 managers, 20 nurses, and 16 patients' relatives. Data were collected using a questionnaire. The implementation results were compared before and after applying the developed model in the aspects of work quantity, work quality, service duration and labor within service, satisfaction of individuals involved, and economics. Data were analyzed using qualitative statistics, Independent t-test, and Pearson Chi-Square statistics at the alpha values of 0 .05 . The results of 5 implementation aspects were better than before the experiment. The newly developed model had complete elements in its principle, structure, and methods, and implementing the model continuously will lead to sustainability by using existing resources without complicated procedures. The researcher recommended to continuously develop this model to be the nation's implementation sample of pediatric oncology inpatient services by applying the Routine to Research approach (R2R).
This experimental research, a pre-test and post-test design, aimed at developing pediatric oncology inpatient services. The implementation of the developed model of pediatric oncology inpatient services was tested at the Pediatric Oncology Inpatient Ward at Somdech Phra Debaratana Medical Center (SDMC), Ramathibodi Hospital, from October 1, 2016 - September 30, 2017. The samples were from the pediatric oncology inpatient services at SDMC, including 3 managers, 20 nurses, and 16 patients' relatives. Data were collected using a questionnaire. The implementation results were compared before and after applying the developed model in the aspects of work quantity, work quality, service duration and labor within service, satisfaction of individuals involved, and economics. Data were analyzed using qualitative statistics, Independent t-test, and Pearson Chi-Square statistics at the alpha values of 0 .05 . The results of 5 implementation aspects were better than before the experiment. The newly developed model had complete elements in its principle, structure, and methods, and implementing the model continuously will lead to sustainability by using existing resources without complicated procedures. The researcher recommended to continuously develop this model to be the nation's implementation sample of pediatric oncology inpatient services by applying the Routine to Research approach (R2R).
Description
สาธารณสุขศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสาธารณสุขศาสตร์
Degree Discipline
สาธารณสุขศาสตร์
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล