Environmental crime : a case study of wildlife trafficking in Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 194 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Nanrapat Chaiakaraphong Environmental crime : a case study of wildlife trafficking in Thailand. Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92244
Title
Environmental crime : a case study of wildlife trafficking in Thailand
Alternative Title(s)
อาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษาการลักลอบค้าสัตว์ป่าของไทย
Author(s)
Abstract
Wildlife trafficking is a prolonged crisis of environmental crime in Thailand. The policy of wildlife also regulated without thoughtful studying on the problems. Ineffective law enforcement and corruption of officials regarding wildlife trafficking has become a problem that cause huge damage to Thailand. The negative outcomes therefore led to explore Green Criminology possibly defined the situation and occurrences of wildlife trafficking in Thailand. Including, the policy of protection of suppression in wildlife trafficking in Thailand appeared whether the way to decline wildlife trafficking in Thailand. The methodology was qualitative research. Study on documentary and in-depth interviews was conducted with the key informants who are involved in the prevention and suppression of wildlife trafficking from public agencies, private sectors, academic sector and civil society. The Green Criminology concept can be demonstrated the situation of wildlife trafficking in Thailand because it causes huge damage to humans and society, wildlife, environment and ecosystems. Even though Thailand has policies to protect and suppress wildlife trafficking, however, wildlife trafficking repeatedly occurs in Thailand due to problems on law enforcement, policy and agency and offender. Those were obstacles to the effective implementation of policies. Thus, cooperation among government agencies, private sectors, academic sectors and civil society is required to achieve both proactive and reactive operations in order to reduce problem of wildlife trafficking in Thailand.
การลักลอบค้าสัตว์ป่าเป็นปัญหาอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในไทยมายาวนานอีกทั้งการกำหนดนโยบายด้านสัตว์ป่าที่ไม่ได้ศึกษาถึงสภาพปัญหาอย่างลึกซึ้ง ความอ่อนแอในการบังคับใช้กฎหมาย และการทุจริตของเจ้าหน้าที่ จึงทำให้การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นกลายเป็นปัญหาที่สร้างความเสียหายต่อประเทศ จึงนำมาสู่การศึกษาว่าแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมสามารถอธิบายสถานการณ์การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยได้หรือไม่ อย่างไร อีกทั้งนโยบายป้องกันและปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่าของไทยมีแนวทางการป้องกันและปราบปรามให้การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยลดลงหรือไม่ อย่างไร โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาจากเอกสารการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการป้องกันและปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่าจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมโดยแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมสามารถนำมาใช้อธิบายสถานการณ์การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยได้ เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นสร้างความเสียหายต่อมนุษย์และสังคมสัตว์ป่า สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ อย่างไรก็ตามแม้จะมีแนวทางการป้องกันและปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่าแต่การลักลอบค้าสัตว์ป่าก็ยังคงเกิดขึ้นในไทยอย่างต่อเนื่อง เนื่องมาจากปัญหาด้านกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย ด้านนโยบายและองค์การ และด้านผู้กระทำผิด ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติให้เกิดผล ดังนั้นการประสานความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม เพื่อให้เกิดการดำเนินงานทั้งเชิงรุกและเชิงรับจะทำให้ปัญหาการลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยนั้นมีแนวโน้มลดลง
การลักลอบค้าสัตว์ป่าเป็นปัญหาอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในไทยมายาวนานอีกทั้งการกำหนดนโยบายด้านสัตว์ป่าที่ไม่ได้ศึกษาถึงสภาพปัญหาอย่างลึกซึ้ง ความอ่อนแอในการบังคับใช้กฎหมาย และการทุจริตของเจ้าหน้าที่ จึงทำให้การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นกลายเป็นปัญหาที่สร้างความเสียหายต่อประเทศ จึงนำมาสู่การศึกษาว่าแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมสามารถอธิบายสถานการณ์การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยได้หรือไม่ อย่างไร อีกทั้งนโยบายป้องกันและปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่าของไทยมีแนวทางการป้องกันและปราบปรามให้การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยลดลงหรือไม่ อย่างไร โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาจากเอกสารการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการป้องกันและปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่าจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมโดยแนวคิดอาชญาวิทยาสิ่งแวดล้อมสามารถนำมาใช้อธิบายสถานการณ์การลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยได้ เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นสร้างความเสียหายต่อมนุษย์และสังคมสัตว์ป่า สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ อย่างไรก็ตามแม้จะมีแนวทางการป้องกันและปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่าแต่การลักลอบค้าสัตว์ป่าก็ยังคงเกิดขึ้นในไทยอย่างต่อเนื่อง เนื่องมาจากปัญหาด้านกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย ด้านนโยบายและองค์การ และด้านผู้กระทำผิด ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติให้เกิดผล ดังนั้นการประสานความร่วมมือทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม เพื่อให้เกิดการดำเนินงานทั้งเชิงรุกและเชิงรับจะทำให้ปัญหาการลักลอบค้าสัตว์ป่าที่เกิดขึ้นในไทยนั้นมีแนวโน้มลดลง
Description
Criminology, Justice Administration and Society (Mahidol University 2019)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology, Justice Administration and Society
Degree Grantor(s)
Mahidol University