Parenting styles and hardiness of students of one military academy
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 66 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Pornthida Chaiharn Parenting styles and hardiness of students of one military academy. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93260
Title
Parenting styles and hardiness of students of one military academy
Alternative Title(s)
รูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูกับความเข้มแข็งอดทนของนักเรียนในโรงเรียนทหารแห่งหนึ่ง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The present study examined the relationship between parenting styles and hardiness, and examined the predictive role of parenting styles to hardiness of students in one military academy. Subjects comprised of 319 military students. The instruments for data collection were questionnaires including the parenting style rating scale and the dispositional resilience scale (DRS-15). The data were analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. Pearson's correlation coefficient was used for correlation analysis. One-way ANOVA was used to compare hardiness in different styles of parenting. Lastly, stepwise multiple regression was used to analyze predicting ability of parenting styles to hardiness. Results indicated that military students scored 27.67 in hardiness and authoritative parenting style was the top style reported used to raise military students. Interestingly, each parenting style had significantly different score in terms of indicating hardiness. The correlation test indicated that hardiness had positive correlation with authoritative parenting style (r=.323, p<.01), but it has inverse significant relationship with authoritarian parenting style and neglectful parenting style (r= -.226 and r= -.278, p<.01). Predictive analysis indicated that authoritative parenting style can significantly predict hardiness (predictability = 10). Findings from this research can also be used as a guideline to promote hardiness in people for the improvement of society.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูกับความเข้มแข็งอดทน และหาความสามารถในการทำนายของรูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่มีต่อความเข้มแข็งอดทนของนักเรียนในโรงเรียนทหารแห่งหนึ่งจำนวน 319 คน เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย แบบสำรวจรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู และแบบวัดความเข้มแข็งอดทนวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและวิเคราะห์ความสามารถในการทำนายด้วยการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนทหารกลุ่มนี้มีค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งอดทน 27.67 และได้รับการเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่เป็นอันดับหนึ่งโดยพบว่า รูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่แตกต่างกันมีคะแนนความเข้มแข็งอดทนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนเรื่องความสัมพันธ์พบว่า รูปแบบการได้รับอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเข้มแข็งอดทน (r=.323 , p<.01) ส่วนแบบควบคุม และทอดทิ้งมีความสัมพันธ์ทางลบกับความเข้มแข็งอดทน (r= -.226 และ r= -.278, p<.01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อวิเคราะห์อำนาจการทำนายพบว่า รูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่สามารถทำนายความเข้มแข็งอดทนได้ร้อยละ 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางเบื้องต้นเพื่อวางแผนส่งเสริมคุณลักษณะเข้มแข็งอดทนอันเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพของประชากรต่อไป
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูกับความเข้มแข็งอดทน และหาความสามารถในการทำนายของรูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่มีต่อความเข้มแข็งอดทนของนักเรียนในโรงเรียนทหารแห่งหนึ่งจำนวน 319 คน เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย แบบสำรวจรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู และแบบวัดความเข้มแข็งอดทนวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและวิเคราะห์ความสามารถในการทำนายด้วยการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนทหารกลุ่มนี้มีค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งอดทน 27.67 และได้รับการเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่เป็นอันดับหนึ่งโดยพบว่า รูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่แตกต่างกันมีคะแนนความเข้มแข็งอดทนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนเรื่องความสัมพันธ์พบว่า รูปแบบการได้รับอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเข้มแข็งอดทน (r=.323 , p<.01) ส่วนแบบควบคุม และทอดทิ้งมีความสัมพันธ์ทางลบกับความเข้มแข็งอดทน (r= -.226 และ r= -.278, p<.01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อวิเคราะห์อำนาจการทำนายพบว่า รูปแบบการได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่สามารถทำนายความเข้มแข็งอดทนได้ร้อยละ 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางเบื้องต้นเพื่อวางแผนส่งเสริมคุณลักษณะเข้มแข็งอดทนอันเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพของประชากรต่อไป
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University