ปัจจัยทำนายการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบไม่มีแผน
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 152 แผ่น : ภาพประกอบ.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การผดุงครรภ์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
สุนิษา โตโสภณ ปัจจัยทำนายการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบไม่มีแผน. วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การผดุงครรภ์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93337
Title
ปัจจัยทำนายการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบไม่มีแผน
Alternative Title(s)
Selected factors predicting childbirth experience of laboring women with unplanned cesarean section
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
งานวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สามารถร่วมกันทำนายการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบไม่มีแผน โดยใช้กรอบแนวคิดจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดเป็นแนวทางในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบไม่มีแผน ที่มาคลอดที่โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และพักหลังคลอดที่หอผู้ป่วยสูติกรรมหลังคลอดและ หอผู้ป่วยสูติกรรมพิเศษ ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 จำนวน 125 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความวิตกกังวล แบบประเมินการสนับสนุนจากพยาบาล และแบบประเมินการรับรู้ประสบการณ์การคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่สามารถทำนายการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดที่ได้รับ การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบไม่มีแผนคือ การรับรู้การสนับสนุนจากพยาบาล ความวิตกกังวล การได้รับ ยาบรรเทาปวด และระดับการศึกษา โดยสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการรับรู้ประสบการณ์ การคลอดได้ร้อยละ 41.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ผลการศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่า พยาบาลควรประเมินการรับรู้การสนับสนุนจากพยาบาล ความวิตกกังวล ความปวด และระดับการศึกษาของผู้คลอด เพื่อให้การพยาบาลที่ช่วยให้ผู้คลอดเกิดการรับรู้ประสบการณ์การคลอดทางบวกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
This descriptive study was aimed at studying the factors capable of co-predicting the childbirth experiences of laboring women with unplanned cesarean section by using a conceptual framework from a review of factors related to and influencing the childbirth experience of laboring women as a guideline for the study. The samples were composed of 125 laboring women with cesarean section who came to give birth at Ramathibodi Hospital and Phramongkutklao Hospital and recovered in the postpartum unit and the private obstetric and gynecologic unit during February, 2016 to June, 2016. The samples were purposively sampled based on inclusion criteria. The data collection instruments consisted of the personal data questionnaire, the anxiety assessment form, the nurses' support assessment form and the childbirth experience assessment form. Data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis. According to the findings, the factors capable of predicting the childbirth experiences of laboring women with unplanned cesarean section consisted of perceived nursing support, anxiety, pain relief medications and level of education, which were able to jointly explain variances in childbirth experience at 41.4 percent with statistical significance (p < .05). This study recommended nurses to continually assess perceived nursing support, anxiety, pain and level of education among laboring women to provide care and effectively help laboring women perceive positive childbirth experience.
This descriptive study was aimed at studying the factors capable of co-predicting the childbirth experiences of laboring women with unplanned cesarean section by using a conceptual framework from a review of factors related to and influencing the childbirth experience of laboring women as a guideline for the study. The samples were composed of 125 laboring women with cesarean section who came to give birth at Ramathibodi Hospital and Phramongkutklao Hospital and recovered in the postpartum unit and the private obstetric and gynecologic unit during February, 2016 to June, 2016. The samples were purposively sampled based on inclusion criteria. The data collection instruments consisted of the personal data questionnaire, the anxiety assessment form, the nurses' support assessment form and the childbirth experience assessment form. Data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis. According to the findings, the factors capable of predicting the childbirth experiences of laboring women with unplanned cesarean section consisted of perceived nursing support, anxiety, pain relief medications and level of education, which were able to jointly explain variances in childbirth experience at 41.4 percent with statistical significance (p < .05). This study recommended nurses to continually assess perceived nursing support, anxiety, pain and level of education among laboring women to provide care and effectively help laboring women perceive positive childbirth experience.
Description
การผดุงครรภ์ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
Degree Discipline
การผดุงครรภ์
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล