ปัจจัยทำนายการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิดระยะยาวในมารดาวัยรุ่นหลังคลอดที่มารับการคุมกำเนิด
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 128 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การผดุงครรภ์ขั้นสูง))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
เด่นละออง นาเสงี่ยม ปัจจัยทำนายการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิดระยะยาวในมารดาวัยรุ่นหลังคลอดที่มารับการคุมกำเนิด. วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การผดุงครรภ์ขั้นสูง))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93366
Title
ปัจจัยทำนายการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิดระยะยาวในมารดาวัยรุ่นหลังคลอดที่มารับการคุมกำเนิด
Alternative Title(s)
Factors predicting long-acting reversible contraception use in postpartum adolescent mothers receiving contraception
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงบรรยาย (Descriptive study) เพื่อศึกษาความสามารถในการทำนายของ ความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิด ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด การได้รับความรุนแรงจากคู่สมรส และการสนับสนุนทางสังคม ต่อการเลือกใช้วิธีการคุมกำเนิดระยะยาวในมารดาวัยรุ่นหลังคลอดที่มารับการคุมกำเนิด ที่หน่วยอนามัยเจริญพันธุ์และวางแผนครอบครัว โรงพยาบาลศิริราช กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาวัยรุ่นอายุ 12-19 ปี จำนวน 96 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิด แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า แบบคัดกรองความรุนแรง แบบวัดความช่วยเหลือทางสังคมแบบพหุมิติ และแบบสอบถามการคุมกำเนิดหลังคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ ถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิด ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด การได้รับความรุนแรงจากคู่สมรส และการสนับสนุนทางสังคม ไม่สามารถทำนายการเลือกใช้วิธีการ คุมกำเนิดระยะยาวในมารดาวัยรุ่นหลังคลอดได้ (p > .05) พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 72.9 เลือกใช้การฝังยาคุมกำเนิด เนื่องจากได้รับคำแนะนำ และการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ ทั้งในระยะฝากครรภ์ และภายหลังคลอด ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรที่จะมีการศึกษาติดตามการใช้วิธีการคุมกำเนิด ระยะยาวในมารดาวัยรุ่นหลังคลอดตั้งแต่อยู่ที่หอผู้ป่วยหลังคลอด
The present study was a descriptive study aimed at investigating the predictive power of knowledge about contraception, postpartum depression, domestic violence, and social support on long-acting reversible contraception use in postpartum adolescent mothers receiving contraception at Siriraj Hospital. The participants consisted of 96 postpartum adolescent mothers. Six instruments were used to collect data, including the demographic characteristics questionnaire, the knowledge about contraception questionnaire, the The Center for Epidemiologic Studies Depression Scale, the Abuse Assessment Screen, the Multidimensional Scale of Perceived Social Support, and a postpartum contraception use questionnaire. Percentage, mean, standard deviation and logistic regression analysis were used to analyze data. The finding revealed that knowledge about contraception, postpartum depression, domestic violence, and social support could not predict long-acting reversible contraception use in the postpartum adolescent mothers (p > 0.05). The results also revealed that 72.9% of the participants used contraceptive implants due to receiving suggestions and support from health care team both pre and post - natal. Therefore, further study should follow the long-acting reversible contraception use in postpartum adolescent mothers while they are in postpartum ward.
The present study was a descriptive study aimed at investigating the predictive power of knowledge about contraception, postpartum depression, domestic violence, and social support on long-acting reversible contraception use in postpartum adolescent mothers receiving contraception at Siriraj Hospital. The participants consisted of 96 postpartum adolescent mothers. Six instruments were used to collect data, including the demographic characteristics questionnaire, the knowledge about contraception questionnaire, the The Center for Epidemiologic Studies Depression Scale, the Abuse Assessment Screen, the Multidimensional Scale of Perceived Social Support, and a postpartum contraception use questionnaire. Percentage, mean, standard deviation and logistic regression analysis were used to analyze data. The finding revealed that knowledge about contraception, postpartum depression, domestic violence, and social support could not predict long-acting reversible contraception use in the postpartum adolescent mothers (p > 0.05). The results also revealed that 72.9% of the participants used contraceptive implants due to receiving suggestions and support from health care team both pre and post - natal. Therefore, further study should follow the long-acting reversible contraception use in postpartum adolescent mothers while they are in postpartum ward.
Description
การผดุงครรภ์ขั้นสูง (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะพยาบาลศาสตร์
Degree Discipline
การผดุงครรภ์ขั้นสูง
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล