An application of GIS for analyzing suitable area for flood disaster shelter in Nakornpathom province, Thailand
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 74 leaves : col. ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Wongsakorn Tongsalee An application of GIS for analyzing suitable area for flood disaster shelter in Nakornpathom province, Thailand. Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94028
Title
An application of GIS for analyzing suitable area for flood disaster shelter in Nakornpathom province, Thailand
Alternative Title(s)
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ที่ตั้งเหมาะสมสำหรับศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย จังหวัดนครปฐม
Author(s)
Abstract
This thesis aims to evaluate potential areas of Nakornpathom to find suitable areas for the establishment of a flood disaster shelter. By studying the topography and the risk of flooding in the area, with the data from trusted public and government agencies, participate in the analysis, together with the five selected criteria taken from the Disaster Prevention and Mitigation officer, including the flood risk, the flood record, the slope, the distance from the main road, and the population density of each sub district. By applying the geographic information system (GIS) through, the Potential Surface Analysis (PSA) method, the five factors are overlaid to find the most suitable area in Nakornpathom province. By studying the potential surface for a flood disaster shelter, the suitable results are divided into 5 levels, given as: most suitable, suitable, moderately suitable, less suitable and lowest suitable area. The results showed that Nakornpathom Province has 2.39 percent of the highest suitable areas. It is found in the clustering areas of Muang Nakorn Pathom, Kamphaeng Saen, and the area along the major transport routes in Samphran and Nakhon Chai Si district. It is followed by 21.27 percent of the high suitable areas, found in the area along the transportation routes in the south and west. It is also found on transport links to the central of the Don Tum district
วิทยานิพนธ์เล่มนี้ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินศักยภาพพื้นที่ของจังหวัดนครปฐม เพื่อ ค้นหาพื้นที่เหมาะสมสำหรับจัดตั้งเป็นศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยภายในพื้นที่ โดยศึกษาลักษณะภูมิ ประเทศ และความเสี่ยงต่ออุทกภัยของพื้นที่จังหวัดนครปฐม เพื่อร่วมในการวิเคราะห์โดยใช้ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS) ผ่านกระบวนการประเมินศักยภาพพื้นที่ (PSA) โดยใช้เกณฑ์การตัดสินใจ ที่ได้รับการศึกษาและคัดเลือกจากเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คือ ระดับความเสี่ยงการ เกิดอุทกภัย ประวัติการเกิดอุทกภัย ความลาดชัน ระยะห่างจากถนนสายหลัก และความหนาแน่นของ ประชากรรายตำบล โดยใช้ข้อมูลจากองค์กรภาครัฐ และองค์กรอิสระที่เชื่อถือได้ ในการศึกษาศักยภาพพื้นที่สาหรับตั้งศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยครั้งนี้ได้แบ่งระดับ ความเหมาะสมของพื้นที่เป็น 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย และเหมาะสมน้อยที่สุดโดยผลการศึกษาพบว่าจังหวัดนครปฐมมีพื้นที่อยู่ในระดับ เหมาะสมมากคิดเป็นร้อยละ 2.39 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด พบมากในบริเวณอำเภอเมือง อำเภอกำแพงแสน และบริเวณริมเส้นทางคมนาคมสายหลักในอำเภอสามพรานและนครชัยศรี โดยพื้นที่รองลงมาคือระดับ เหมาะสมมากมีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 21.27 ของจังหวัด ซึ่งพบในบริเวณริมเส้นทางคมนาคมทางทิศใต้ และตะวันตก จะจุดเชื่องโยงการคมนาคมในอำเภอดอนตูม
วิทยานิพนธ์เล่มนี้ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินศักยภาพพื้นที่ของจังหวัดนครปฐม เพื่อ ค้นหาพื้นที่เหมาะสมสำหรับจัดตั้งเป็นศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยภายในพื้นที่ โดยศึกษาลักษณะภูมิ ประเทศ และความเสี่ยงต่ออุทกภัยของพื้นที่จังหวัดนครปฐม เพื่อร่วมในการวิเคราะห์โดยใช้ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS) ผ่านกระบวนการประเมินศักยภาพพื้นที่ (PSA) โดยใช้เกณฑ์การตัดสินใจ ที่ได้รับการศึกษาและคัดเลือกจากเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คือ ระดับความเสี่ยงการ เกิดอุทกภัย ประวัติการเกิดอุทกภัย ความลาดชัน ระยะห่างจากถนนสายหลัก และความหนาแน่นของ ประชากรรายตำบล โดยใช้ข้อมูลจากองค์กรภาครัฐ และองค์กรอิสระที่เชื่อถือได้ ในการศึกษาศักยภาพพื้นที่สาหรับตั้งศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยครั้งนี้ได้แบ่งระดับ ความเหมาะสมของพื้นที่เป็น 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย และเหมาะสมน้อยที่สุดโดยผลการศึกษาพบว่าจังหวัดนครปฐมมีพื้นที่อยู่ในระดับ เหมาะสมมากคิดเป็นร้อยละ 2.39 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด พบมากในบริเวณอำเภอเมือง อำเภอกำแพงแสน และบริเวณริมเส้นทางคมนาคมสายหลักในอำเภอสามพรานและนครชัยศรี โดยพื้นที่รองลงมาคือระดับ เหมาะสมมากมีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 21.27 ของจังหวัด ซึ่งพบในบริเวณริมเส้นทางคมนาคมทางทิศใต้ และตะวันตก จะจุดเชื่องโยงการคมนาคมในอำเภอดอนตูม
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University