Transportation forecasting and effects on Thailand-Laos border crossing points after opening of the Asean economic community
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 99 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Juangjan Chankrachang Transportation forecasting and effects on Thailand-Laos border crossing points after opening of the Asean economic community. Thesis (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94093
Title
Transportation forecasting and effects on Thailand-Laos border crossing points after opening of the Asean economic community
Alternative Title(s)
การพยากรณ์ปริมาณรถยนต์เข้าออกและผลกระทบต่อสภาพการจราจรด่านชายแดนไทย-ลาวหลังเป็นประชาคมอาเซียน
Author(s)
Abstract
There are several factors affecting vehicle volumes. When the demand for vehicles increases, transport infrastructure development, such as number of lanes and highway connection, needs to be prepared in advance. It is therefore necessary to plan and predict the traffic flow in the future using existing information. In addition, the opening of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) Economic Community (AEC) is another major factor that will cause the free movement of populations among the AEC countries, which will result in an increased demand for vehicles. In this study, the amount of vehicles in Thailand and Laos, traffic flow on the border of Thailand-Laos, effects that may occur after the launch of the AEC, and the ability to handle the volume of Thailand-Laos cross-border vehicles were studied. In order to predict traffic flow, a nonlinear auto regressive with exogenous input (NARX) was utilized. The NARX model can forecast the traffic flow on the border with the lowest mean square error (MSE) at the Mukdahan checkpoint at 191,210 and the lowest MSE at the Chiang Khong checkpoint at 12,458. This study can be applied to other Thailand's cross borders by adjusting the relative factors depending on each border's situation.
ปริมาณการใช้งานรถยนต์เกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน เมื่อความต้องการใช้รถยนต์เพิ่มขึ้นความจำเป็นในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอาทิเช่น พื้นที่ผิวในการจราจรและช่องทางการจราจรจึงต้องเพิ่มประสิทธิภาพตามไปด้วย ดังนั้นการวางแผนพัฒนาจึงมีความจำเป็นที่จะต้องคาดการณ์ปริมาณรถยนต์ในอนาคตจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนั้นการเปิดประชาคมอาเซียนเป็นอีกปัจจัยหลักปัจจัยหนึ่งที่จะทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายของประชากรระหว่างกันง่ายขึ้นซึ่งจะส่งผลให้เกิดความต้องการใช้รถยนต์เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาปริมาณรถยนต์ในประเทศไทยและลาว การเข้าออกของด่านชายแดนไทย-ลาว ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากการเปิดประชาคมอาเซียน และความสามารถของการรองรับปริมาณรถยนต์ของด่านชายแดนไทย-ลาว ในการพยากรณ์ปริมาณรถยนต์ของงานวิจัยได้ใช้โครงสร้างแบบถดถอยด้วยตัวเองกับข้อมูลป้อนเข้าภายนอกไม่เชิงเส้น (Nonlinear Auto Regressive with exogenous input ; NARX) โดยด่านชายแดนมุกดาหารได้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองอยู่ที่ 191,210 และ ด่านเชียงของได้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ 12,458 แนวทางการศึกษาระหว่างชายแดนไทย-ลาวนี้สามารถนำไป ประยุกต์ใช้กับการศึกษาด้านชายแดนประเทศไทยกับประเทศอื่นๆได้ โดยจะต้องปรับปัจจัยที่มีผลกระทบให้เหมาะสมเพื่อสามารถนำไปใช้พยากรณ์ปริมาณรถยนต์ต่อไป
ปริมาณการใช้งานรถยนต์เกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน เมื่อความต้องการใช้รถยนต์เพิ่มขึ้นความจำเป็นในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอาทิเช่น พื้นที่ผิวในการจราจรและช่องทางการจราจรจึงต้องเพิ่มประสิทธิภาพตามไปด้วย ดังนั้นการวางแผนพัฒนาจึงมีความจำเป็นที่จะต้องคาดการณ์ปริมาณรถยนต์ในอนาคตจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนั้นการเปิดประชาคมอาเซียนเป็นอีกปัจจัยหลักปัจจัยหนึ่งที่จะทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายของประชากรระหว่างกันง่ายขึ้นซึ่งจะส่งผลให้เกิดความต้องการใช้รถยนต์เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาปริมาณรถยนต์ในประเทศไทยและลาว การเข้าออกของด่านชายแดนไทย-ลาว ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากการเปิดประชาคมอาเซียน และความสามารถของการรองรับปริมาณรถยนต์ของด่านชายแดนไทย-ลาว ในการพยากรณ์ปริมาณรถยนต์ของงานวิจัยได้ใช้โครงสร้างแบบถดถอยด้วยตัวเองกับข้อมูลป้อนเข้าภายนอกไม่เชิงเส้น (Nonlinear Auto Regressive with exogenous input ; NARX) โดยด่านชายแดนมุกดาหารได้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองอยู่ที่ 191,210 และ ด่านเชียงของได้ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ 12,458 แนวทางการศึกษาระหว่างชายแดนไทย-ลาวนี้สามารถนำไป ประยุกต์ใช้กับการศึกษาด้านชายแดนประเทศไทยกับประเทศอื่นๆได้ โดยจะต้องปรับปัจจัยที่มีผลกระทบให้เหมาะสมเพื่อสามารถนำไปใช้พยากรณ์ปริมาณรถยนต์ต่อไป
Description
Technology of Information System Management (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Technology of Information System Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University