The protective effect of Thunbergia Laurifolia extract on ethanol-induced hepatotoxicity in mice
Issued Date
2000
Copyright Date
2000
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 159 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9742933243
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Toxicology))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Atchareeya Chanawirat The protective effect of Thunbergia Laurifolia extract on ethanol-induced hepatotoxicity in mice. Thesis (M.Sc. (Toxicology))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94534
Title
The protective effect of Thunbergia Laurifolia extract on ethanol-induced hepatotoxicity in mice
Alternative Title(s)
การศึกษาถึงผลของสารสกัดจากใบรางจืดต่อการป้องกันการทำลายตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์ในหนูถีบจักร
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Thunbergia laurifolia Linn (Thunbergiaceae), commonly known as 'Rang Jert', is used as an antidote for several poisonous agents in Thai traditional medicine. It was reported that an aqueous extract of dried Thunbergia laurifolia leaves could protect rats against the toxic effects of ethanol. However, there have been no reports on the protective mechanisms of Thunbergia laurifolia leaves extract (TLE) on ethanol-induced hepatotoxicity. Therefore, the present study was designed to investigate the possible protective mechanisms of TLE on ethanol-induced hepatotoxicity in mice. Mice were pretreated with TLE at a dose of 200 mg/kg BW (i.p.) 1 hour prior to an intraperitoneal administration of ethanol 9 g/kg BW. Animals were sacrificed at 15 hours after ethanol administration. Liver damage was determined by quantifying plasma activities of glutamic oxaloacitic transaminase (PGOT) and glutamic pyruvic transaminase (PGPT) and also liver triglyceride content. The potential hepatoprotective effect of TLE was also confirmed by histopathological examinations. Additionally, the protective effect of TLE pretreatment on ethanol-induced hepatotoxicity was investigated at various time intervals after ethanol administration. TLE at a dose of 200 mg/kg BW presented significant hepatoprotective effects in these experimental situations. It significantly reduced the activities of PGOT (1.3 folds) and PGPT (1.9 folds), liver triglyceride (1.4 folds) and the severity of hepatic injury of mice pretreated with TLE and then treated with ethanol, compared to mice treated with ethanol alone. However, this study demonstrated that TLE significantly decreased the loss of righting reflex caused by the high doses of ethanol but did not prevent ethanol-induced lethality. The result of acute toxicity study of Thunbergia laurifolia roots extracts (TRE) and TLE demonstrated that TRE was more toxic than TLE at the same dose. The following studies were to investigate the possible mechanisms of TLE on the protective effect of ethanol-induced hepatotoxicity by using hepatic lipid peroxidation, blood ethanol concentration as well as hepatic alcohol dehydrogenase (ADH) and aldehyde dehydrogenase (ALDH) activity as the indicators. All indicators of hepatic response due to an acute ethanol intoxication such as an increase in hepatic lipid peroxidation, blood ethanol concentration and a diminution of ADH and ALDH activities, were reverted by TLE treatment. These results suggested that TLE might be useful for counteracting the effects of alcohol and might be effective for treating hepatic injury.
รางจืดชนิดเถาดอกสีม่วง (Thunbergia laurifolia) เป็นพืชสมุนไพรที่วงการแพทย์ แผนโบราณใช้เป็นยาแก้พิษหรือแก้เมาได้ผลดีและเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าพิษของอัลกอฮอล์ ก่อให้เกิดการทำลายตับ ได้มีรายงานการศึกษาถึงผลของน้ำสกัดจากใบรางจืดสามารถไปลดการเกิด พิษอันเนื่องมาจากของอัลกอฮอล์ในหนูขาวแต่ยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับกลไกของสารสกัดจากใบราง จืดในการช่วยแก้พิษที่เกิดจากอัลกอฮอล์ ในการวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง ผลและกลไกของสารสกัดจากใบรางจืดต่อการป้องกันการทำลายตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์ในหนูถีบ จักร สัตว์ทดลองจะได้รับสารสกัดจากใบรางจืดในขนาด 200 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม โดยฉีดเข้าทางช่องท้องเป็นเวลา 1 ชั่วโมงก่อนที่จะได้รับอัลกอออล์ในขนาด 9 กรัม/น้ำหนัก ตัว 1 กิโลกรัม โดยฉีดเข้าทางช่องท้อง หลังจากนั้น 15 ชั่วโมงสัตว์ทดลองจะถูกทำให้สลบ เพื่อเก็บเลือดและตับเพื่อที่จะใช้ในการประเมินผลของการทำลายตับโดยการวัดระดับของเอนไซม์ PGOT และ PGPT และระดับของไทรกลีเซอไรด์ในตับ นอกจากนี้ยังทำการเก็บอวัยวะต่างๆโดยเฉพาะ ตับและไตมาตรวจทางจุลพยาธิวิทยา จากการศึกษาถึงผลของสารสกัดจากใบรางจืดต่อการป้องกันการ ทำลายตับจากอัลกอฮอล์ที่ระยะเวลาต่างๆหลังจากที่สัตว์ทดลองได้รับอัลกอฮอล์เข้าไป พบว่าที่ ระยะเวลา 15 ชั่วโมงหลังจากได้รับอัลกอฮอล์เข้าไปสารสกัดจากใบรางจืดในขนาด 200 มิลลิกรัม/ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมมีผลทำให้การเกิดพิษที่ตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์ลดลงคือมีการลดลง ของตัวบ่งบอกการเกิดพิษที่ตับดังนี้ PGOT (1.3 เท่า) และ PGPT (1.9 เท่า), ไทรกลีเซอไรด์ (1.4 เท่า) และลดการเปลี่ยนแปลงทางจุลพยาธิวิทยาของตับเมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์ทดลองที่ ได้รับอัลกอฮอล์เพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ยังพบอีกว่าสารสกัดจากใบรางจืดสามารถไปลดการสูญ เสียความสามารถในการตอบสนองซึ่งเกิดจากการได้รับอัลกอฮอล์ในปริมาณสูงได้อีกด้วยแต่ไม่ สามารถป้องกันการตายจากพิษเฉียบพลันของอัลกอฮอล์ได้ ส่วนการศึกษาถึงพิษเฉียบพลันของสาร สกัดจากรางจืดนั้นพบว่าสารสกัดที่ได้จากรากรางจืดมีฤทธิ์ที่แรงกว่าและทำให้สัตว์ทดลองตาย มากกว่าสารสกัดที่ได้จากใบเมื่อให้สารสกัดทั้งสองในปริมาณเท่ากัน ในการศึกษาถึงกลไกของ สารสกัดจากใบรางจืดต่อการป้องกันการทำลายตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์นั้นพบว่า สารสกัดจาก ใบรางจืดสามารถลดระดับของลิพิดเพอร์ออกไซด์ในตับ (11.10%), ระดับอัลกอฮอล์ในเลือด (18.95%), และเพิ่มระดับของเอนไซม์ ADH (142.15%) และ ALDH (187.09%) ผลดังกล่าวเป็นตัวบ่งชี้ถึง สภาพทั่วไปและการทำงานของตับในระดับโมเลกุลซึ่งจะถูกเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้ด้วย ฤทธิ์ของสารสกัดจากใบรางจืด จากผลการทดลองที่ได้ในครั้งนี้สรุปได้ว่าถ้าได้รับสารสกัดจาก ใบรางจืดในปริมาณและระยะเวลาที่เหมาะสมก่อนการได้รับอัลกอฮอล์เข้าไปสามารถไปลดการเกิดพิษ ที่ตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์
รางจืดชนิดเถาดอกสีม่วง (Thunbergia laurifolia) เป็นพืชสมุนไพรที่วงการแพทย์ แผนโบราณใช้เป็นยาแก้พิษหรือแก้เมาได้ผลดีและเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าพิษของอัลกอฮอล์ ก่อให้เกิดการทำลายตับ ได้มีรายงานการศึกษาถึงผลของน้ำสกัดจากใบรางจืดสามารถไปลดการเกิด พิษอันเนื่องมาจากของอัลกอฮอล์ในหนูขาวแต่ยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับกลไกของสารสกัดจากใบราง จืดในการช่วยแก้พิษที่เกิดจากอัลกอฮอล์ ในการวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง ผลและกลไกของสารสกัดจากใบรางจืดต่อการป้องกันการทำลายตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์ในหนูถีบ จักร สัตว์ทดลองจะได้รับสารสกัดจากใบรางจืดในขนาด 200 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม โดยฉีดเข้าทางช่องท้องเป็นเวลา 1 ชั่วโมงก่อนที่จะได้รับอัลกอออล์ในขนาด 9 กรัม/น้ำหนัก ตัว 1 กิโลกรัม โดยฉีดเข้าทางช่องท้อง หลังจากนั้น 15 ชั่วโมงสัตว์ทดลองจะถูกทำให้สลบ เพื่อเก็บเลือดและตับเพื่อที่จะใช้ในการประเมินผลของการทำลายตับโดยการวัดระดับของเอนไซม์ PGOT และ PGPT และระดับของไทรกลีเซอไรด์ในตับ นอกจากนี้ยังทำการเก็บอวัยวะต่างๆโดยเฉพาะ ตับและไตมาตรวจทางจุลพยาธิวิทยา จากการศึกษาถึงผลของสารสกัดจากใบรางจืดต่อการป้องกันการ ทำลายตับจากอัลกอฮอล์ที่ระยะเวลาต่างๆหลังจากที่สัตว์ทดลองได้รับอัลกอฮอล์เข้าไป พบว่าที่ ระยะเวลา 15 ชั่วโมงหลังจากได้รับอัลกอฮอล์เข้าไปสารสกัดจากใบรางจืดในขนาด 200 มิลลิกรัม/ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมมีผลทำให้การเกิดพิษที่ตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์ลดลงคือมีการลดลง ของตัวบ่งบอกการเกิดพิษที่ตับดังนี้ PGOT (1.3 เท่า) และ PGPT (1.9 เท่า), ไทรกลีเซอไรด์ (1.4 เท่า) และลดการเปลี่ยนแปลงทางจุลพยาธิวิทยาของตับเมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์ทดลองที่ ได้รับอัลกอฮอล์เพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ยังพบอีกว่าสารสกัดจากใบรางจืดสามารถไปลดการสูญ เสียความสามารถในการตอบสนองซึ่งเกิดจากการได้รับอัลกอฮอล์ในปริมาณสูงได้อีกด้วยแต่ไม่ สามารถป้องกันการตายจากพิษเฉียบพลันของอัลกอฮอล์ได้ ส่วนการศึกษาถึงพิษเฉียบพลันของสาร สกัดจากรางจืดนั้นพบว่าสารสกัดที่ได้จากรากรางจืดมีฤทธิ์ที่แรงกว่าและทำให้สัตว์ทดลองตาย มากกว่าสารสกัดที่ได้จากใบเมื่อให้สารสกัดทั้งสองในปริมาณเท่ากัน ในการศึกษาถึงกลไกของ สารสกัดจากใบรางจืดต่อการป้องกันการทำลายตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์นั้นพบว่า สารสกัดจาก ใบรางจืดสามารถลดระดับของลิพิดเพอร์ออกไซด์ในตับ (11.10%), ระดับอัลกอฮอล์ในเลือด (18.95%), และเพิ่มระดับของเอนไซม์ ADH (142.15%) และ ALDH (187.09%) ผลดังกล่าวเป็นตัวบ่งชี้ถึง สภาพทั่วไปและการทำงานของตับในระดับโมเลกุลซึ่งจะถูกเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้ด้วย ฤทธิ์ของสารสกัดจากใบรางจืด จากผลการทดลองที่ได้ในครั้งนี้สรุปได้ว่าถ้าได้รับสารสกัดจาก ใบรางจืดในปริมาณและระยะเวลาที่เหมาะสมก่อนการได้รับอัลกอฮอล์เข้าไปสามารถไปลดการเกิดพิษ ที่ตับอันเนื่องมาจากอัลกอฮอล์
Description
Toxicology (Mahidol University 2000)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Toxicology
Degree Grantor(s)
Mahidol university